44 เมตร ประกอบด้วยท่าเทียบเรือ 6 ท่า สามารถรับเรือลำ �เลียง ได้ตั้งแต่ขนาด 800 ตัน จนถึงขนาด 150,000 ตัน กินน้ำ �ลึก สูงสุด 13.5 เมตร • ท่าเรือปิโตรเคมีและปิโตรเลียมเหลว Liquid & Chemical Terminal (LCT) ให้บริการท่าเทียบเรือเพื่อขนถ่ายสินค้า ประเภทของเหลวและก๊าซ ด้วยอุปกรณ์ขนถ่ายสินค้าที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพและปลอดภัย ตัวท่ามีความยาวประมาณ 1,623 เมตร ประกอบด้วยท่าเทียบเรือขนาดใหญ่ 6 ท่า สามารถรับเรือ ได้ตั้งแต่ขนาด 1,000 - 250,000 ตัน ถังเก็บผลิตภัณฑ์ บริษัทฯ ให้บริการถังเก็บผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมีเหลว ด้วยทีมงานที่มีประสบการณ์และมีระบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และได้มาตรฐานสากล โดยมีถังเก็บผลิตภัณฑ์จำ �นวน 299 ถัง สามารถรองรับการจัดเก็บผลิตภัณฑ์ได้ถึง 2.9 ล้านตัน เพื่อรองรับ การจัดจำ �หน่ายผลิตภัณฑ์น้ำ �มันของบริษัทฯ และให้บริการแก่บุคคล ภายนอก ตั้งกระจายอยู่ตามภูมิภาคต่างๆ ได้แก่ คลังน้ำ �มันระยอง คลังน้ำ �มันพระประแดง คลังน้ำ �มันอยุธยา และคลังน้ำ �มันชุมพร โดยที่คลังน้ำ �มันแต่ละแห่งมีท่าเทียบเรือเพื่อให้บริการขนถ่ายสินค้า ซึ่งจะช่วยให้การดำ �เนินงานและการกระจายสินค้ามีประสิทธิภาพ ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่ายและระยะเวลาในการขนส่ง ธุรกิจบริหารจัดการทรัพย์สิน บริษัทฯ ดำ �เนินธุรกิจบริหารจัดการทรัพย์สินซึ่งเป็นที่ดินที่มีศักยภาพ ตั้งอยู่ในจังหวัดระยองและจังหวัดอื่นๆ รวมทั้งสิ้นประมาณ 12,000 ไร่ โดยบริษัทฯ ได้พัฒนาพื้นที่ให้เป็นที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม และที่ดินที่มีศักยภาพสนับสนุนการขยายตัวของภาคเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม เพื่อรองรับโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาค ตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) รวมถึงโครงการ ตามนโยบายส่งเสริมการลงทุนของภาครัฐอื่นๆ โดยแยกเป็น 3 กลุ่มหลัก ได้แก่ • โครงการเขตประกอบการอุตสาหกรรม: เขตประกอบการ อุตสาหกรรมไออาร์พีซี อำ �เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ปัจจุบันเป็นโครงการที่เพียบพร้อมไปด้วยระบบสาธารณูปโภค พื้นฐานและระบบสาธารณูปการต่างๆ โดยมุ่งเป็นศูนย์กลาง ในการเชื่อมระบบนิเวศและห่วงโซ่การผลิตวัสดุหรือผลิตภัณฑ์ จากต้นน้ำ �ที่ประกอบด้วยอุตสาหกรรมโรงกลั่นและปิโตรเคมี ครบวงจร สู่ปิโตรเคมีขั้นปลายและอุตสาหกรรมขั้นปลาย โดยตรง (Direct Downstream) อันเป็นหัวใจของอุตสาหกรรม ปิโตรเลียม ปิโตรเคมีสมัยใหม่ รวมไปถึงเตรียมความพร้อม รองรับอุตสาหกรรมที่ได้รับการส่งเสริมจากเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) อาทิ เช่น กลุ่มอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร กลุ่มอุตสาหกรรม ยานยนต์สมัยใหม่ รวมไปถึงกลุ่มอุตสาหกรรมการเกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อรองรับความต้องการของกลุ่ม อุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง • โครงการนิคมอุตสาหกรรม: นิคมอุตสาหกรรมดับบลิวเอชเอ อินดัสเตรียล เอสเตท ระยอง (WHAIER) อำ �เภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง เป็นการร่วมทุนระหว่างบริษัท ไออาร์พีซี จำ �กัด(มหาชน) และบริษัทดับบลิวเอชเออินดัสเตรียลดีเวลลอปเมนท์ จำ �กัด (มหาชน) (WHAID) โดยบริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 40 และ WHAID ถือหุ้นร้อยละ 60 การผนึกกำ �ลังทางธุรกิจเกิดขึ้นเพื่อ การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมให้พร้อมรองรับการลงทุนในเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) • ที่ดินอื่นๆ ที่มีศักยภาพ: ที่ดินแปลงใหญ่ที่มีศักยภาพในการ พัฒนาในพื้นที่อำ �เภอจะนะ จังหวัดสงขลา ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 2,300 ไร่ มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นพื้นที่เพื่อสนับสนุน อุตสาหกรรม และพัฒนาเป็นพื้นที่พาณิชยกรรมรองรับการขยาย ตัวของโครงการพัฒนาท่าเรือน้ำ �ลึกและโรงไฟฟ้าของภาครัฐ รวมไปถึงพื้นที่อื่นๆ ในจังหวัดระยอง และพื้นที่ที่มีขนาดเล็กใน จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลำ �พูน โครงสร้างและการดําเนินงานของกลุ่มบริษัท บริษัท ไออาร์พีซี จ� ำกัด (มหาชน) 71
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=