ขั้นตอนการตรวจสอบเบาะแสและข้อร้องเรียน เริ่มจากสำ �นักตรวจสอบภายในซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบดูแลขั้นตอนการดำ �เนินการและติดตามผล พร้อมรวบรวมข้อมูลการกระทำ �ผิดหรือละเมิดจรรยาบรรณบริษัทฯ เพื่อรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นประจำ � รายเดือน และรายไตรมาส ตามลำ �ดับ ในกระบวนการปฏิบัติ สำ �นักตรวจสอบภายในจะพิจารณาว่าเรื่องที่ร้องเรียนมีมูลหรือไม่ และตั้งคณะกรรมการสอบสวนในลำ �ดับต่อไป หากมีความผิดจริง จะมีการพิจารณาลงโทษตามระเบียบวินัยของบริษัทฯ และมีกระบวนการ คุ้มครองพยานหรือผู้แจ้งเบาะแสอย่างชัดเจน โดยในปี 2564 สำ �นักงานตรวจสอบภายในได้รับเรื่องร้องเรียนตามช่องทางและประเภทต่างๆ สรุปดังนี้ ช่วงเวลา ช่องทางรับเรื่องร้องเรียน ประเภทของเรื่องร้องเรียน กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ Auditor @irpc.co.th ตู้ ปณ. 35 ปณฝ. ซันทาวเวอร์ พฤติกรรม พนักงาน การปฏิบัติงาน ข้อเสนอแนะ เรื่องทุจริต รวม 6 3 24 5 20 7 1 6) การปฏิบัติตามหลักการกำ �กับดูแล กิจการที่ดีในเรื่องอื่น ๆ การต่อต้านทุจริตคอร์รัปชัน บริษัทฯ ดำ �เนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ มีจริยธรรมในการดำ �เนินงาน ปฏิบัติตามกฎหมายและหลักปฏิบัติสากลว่าด้วยการป้องกันและ การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน การให้หรือรับสินบนในทุกรูปแบบ ดำ �เนินการขจัดคอร์รัปชัน การติดสินบน และการใช้อำ �นาจบังคับ ทุกรูปแบบ มีการสื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรการ ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันและการติดสินบนกับบุคลากรทุกระดับ และผู้เกี่ยวข้องทางธุรกิจ (Supply Chain) รวมทั้งมีการกำ �หนด ช่องทางและกระบวนการรับเรื่องร้องเรียนที่สะดวก เหมาะสม และมี ประสิทธิภาพ บริษัทฯ ได้ดำ �เนินงานและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ • คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กำ �หนดนโยบายและแนวปฏิบัติในการ ต่อต้านคอร์รัปชันอย่างเป็นรูปธรรม ได้แก่ นโยบายต่อต้าน การทุจริตและคอร์รัปชัน นโยบายการต่อต้านการทุจริตและให้ สินบน นโยบายการรับ-ให้ของขวัญ การเลี้ยง หรือประโยชน์ อื่นใด (No Gift Policy) เพื่อบังคับใช้กับบุคลากรทุกระดับทั่วทั้ง องค์กรและบริษัทในกลุ่ม และจัดให้มีการฝึกอบรมพร้อมกับ รณรงค์กระตุ้นจิตสำ �นึกในช่วงเวลาที่เหมาะสมในโอกาสต่างๆ ทั้งนี้ ได้เปิดเผยนโยบายข้างต้นต่อสาธารณชนในเว็บไซต์และ ช่องทางสื่อสารอื่นๆ ของบริษัทฯ และคณะกรรมการบริษัทฯ ยังส่งเสริมการสร้างเครือข่ายต่อต้านคอร์รัปชันให้ขยายไปยัง ผู้มีส่วนได้เสีย เช่น บริษัทในกลุ่ม ผู้ร่วมทุน และผู้รับเหมา และให้เปิดเผยแนวทางการปฏิบัติให้คู่ค้าของบริษัทฯ รับทราบ โดยทั่วกัน โดยดำ �เนินการอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2559-2564 • คณะกรรมการตรวจสอบ กำ �หนดให้กระบวนการประเมินและ บริหารจัดการความเสี่ยงจากการทุจริตเป็นหนึ่งในหัวข้อของ การตรวจสอบภายใน รวมทั้งให้มีการควบคุมติดตามประเมินผล และรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นประจำ � รายละเอียดกิจกรรมด้านการต่อต้านทุจริตในปี 2564 ปรากฏใน หัวข้อ “การสร้างจิตสำ �นึกและการตระหนักรู้ด้านการกำ �กับดูแล กิจการที่ดี ในปี 2564” หน้า 214 ด้านสิทธิมนุษยชน บริษัทฯ เคารพและปฏิบัติต่อพนักงาน ชุมชน และผู้เกี่ยวข้องทาง ธุรกิจ (Supply Chain) ตามหลักสิทธิมนุษยชนสากลและตาม กฎหมายว่าด้วยเรื่องสิทธิมนุษยชน รวมถึงคุ้มครองเสรีภาพและ ความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรองหรือคุ้มครองโดย กฎหมายไทยและกฎหมายระหว่างประเทศ และจะไม่กระทำ �การ ใดๆ อันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือเข้าไปมีส่วนร่วมในการ ละเมิดไม่ว่าโดยทางตรง หรือทางอ้อม บริษัทฯ จะส่งเสริมศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ การให้โอกาสอย่างเท่าเทียมกันโดยไม่เลือกปฏิบัติ อันเนื่องมาจากความแตกต่างทางเชื้อชาติศาสนา เพศ สีผิว ความเชื่อ ความทุพพลภาพ และฐานะทางสังคม คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กำ �หนดนโยบายสิทธิมนุษยชนของบริษัท ไออาร์พีซี จำ �กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (กลุ่มไออาร์พีซี) ฉบับ ปรับปรุงปี 2564 ซึ่งเปิดเผยไว้บนเว็บไซต์บริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจว่า การดำ �เนินธุรกิจของบริษัทฯ ปลอดจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน ในทุกกิจกรรม นอกจากนี้ ยังได้กำ �หนดกลยุทธ์เพื่อทำ �ให้เกิด กระบวนการที่คำ �นึงถึงสิทธิมนุษยชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า โดย ยึดหลักการ 3 ด้าน ได้แก่ Protect, Respect และ Remedy บน พื้นฐานของการดำ �เนินงานด้านการสื่อสาร (Communication) การสร้างความตระหนัก (Awareness) และการสร้างเครือข่ายภาคี (Networking) รายงานผลการด� ำเนินงานที่ส� ำคัญด้านก� ำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ไออาร์พีซี จ� ำกัด (มหาชน) 269
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=