IRPC One Report TH

การติดตามให้มีการปฏิบัติตาม นโยบายและแนวปฏิบัติในการกำ �กับ ดูแลกิจการ 1) การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทฯ ให้ความสำ �คัญต่อการใช้ข้อมูลภายในของบริษัทฯ และ บริษัทย่อย โดยมุ่งมั่นให้มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทฯ ได้กำ �หนดนโยบายป้องกันการใช้ข้อมูลภายในโดยมิชอบ (Insider Trading) และช่วงเวลาห้ามซื้อขายหลักทรัพย์ (Blackout Period) เพื่อให้มีการดูแลข้อมูลที่มีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ที่ ยังไม่สามารถเปิดเผยได้ (“ข้อมูลภายใน” หรือ non-public price sensitive information) และเพื่อมิให้ กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และผู้เกี่ยวข้อง นำ �ข้อมูลภายในที่ยังมิได้เปิดเผยต่อตลาดหลัก ทรัพย์ฯ หรือสาธารณชนไปใช้เพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตนหรือ บุคคลอื่น ไม่ว่าจะโดยทางตรงและทางอ้อม โดยกำ �หนดแนวทาง ปฏิบัติ ดังนี้ี้ (1) ห้ามกรรมการ ผู้บริหาร (ตามนิยามสำ �นักงาน ก.ล.ต.) พนักงาน ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลภายใน (บัญชี การเงิน เลขานุการบริษัท สำ �นักตรวจสอบภายใน นักลงทุนสัมพันธ์ กลยุทธ์องค์กร บริหารการลงทุน บริหารความเสี่ยง สำ �นัก กิจการองค์กร) ซื้อ-ขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ภายใน 30 วัน ก่อนมีการเปิดเผยงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำ �ปี หรือได้มีการแจ้งข้อมูลสารสนเทศต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ แล้ว หรือก่อนข้อมูลภายในนั้นจะถูกเปิดเผยต่อสาธารณชน และ ภายใน 48 ชั่วโมงหลังการเปิดเผยงบการเงินดังกล่าว (Blackout Period) โดยเลขานุการบริษัทจะประกาศช่วงเวลา ห้ามซื้อ-ขายหลักทรัพย์ให้บุคคลที่บริษัทฯ กำ �หนดดังกล่าวทราบ เป็นการล่วงหน้า (2) กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ ที่มีความประสงค์จะซื้อ-ขาย หลักทรัพย์ของบริษัทฯ มีหน้าที่แจ้งต่อเลขานุการบริษัท ล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วันก่อนทำ �การซื้อ-ขายหลักทรัพย์ ในกรณีที่ เลขานุการบริษัทประสงค์ที่จะซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ จะต้องแจ้งต่อประธานกรรมการ หรือประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ (3) กรรมการ ผู้บริหาร (ตามนิยามสำ �นักงาน ก.ล.ต.) และผู้สอบ บัญชีของบริษัทฯ มีหน้าที่ต้องจัดทำ �และเปิดเผยรายงานการ เปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของตน คู่สมรส และบุตรที่ยัง ไม่บรรลุนิติภาวะ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สำ �นักงานคณะ กรรมการกำ �กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำ �หนด ภายใน 3 วันทำ �การนับแต่วันที่มีการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพย์ (4) กรรมการ และผู้บริหาร (ตามนิยามสำ �นักงาน ก.ล.ต.) ต้อง รายงานการเปลี่ยนแปลงส่วนได้เสียและข้อมูลประวัติของตน ตามหลักเกณฑ์การรายงานการมีส่วนได้เสียภายใน 7 วัน ทำ �การนับแต่วันที่มีการเปลี่ยนแปลง โดยให้ส่งรายงานมายัง เลขานุการบริษัท เพื่อส่งให้กับประธานกรรมการและประธาน กรรมการตรวจสอบ 2) การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflict of Interest) บริษัทฯ กำ �หนดให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ รวมไปถึงบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่ไออาร์พีซีมีอำ �นาจควบคุม ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ โดยจะต้องเปิดเผยรายการที่เป็นผลประโยชน์ ที่ขัดกันกับผลประโยชน์ของบริษัทฯ หรือกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมให้ไออาร์พีซีเป็นบริษัทที่มีประสิทธิภาพในการดำ �เนิน ธุรกิจ มีการกำ �กับกิจการและการบริหารงานที่เป็นเลิศมีคุณธรรม ในการดำ �เนินธุรกิจ ปราศจากคอร์รัปชัน มีความโปร่งใสและ ตรวจสอบได้ การจัดทำ �รายงานเปิดเผยรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์กับบริษัทฯ บริษัทฯ กำ �หนดให้ผู้บริหารและพนักงานทุกคนของบริษัทฯ และ บริษัทในเครือ ต้องจัดทำ �รายงานเปิดเผยรายการที่อาจมีความขัด แย้งทางผลประโยชน์หรือมีผลประโยชน์ที่ขัดกันกับผลประโยชน์ ของบริษัทฯ ผ่านระบบในรูปแบบ Online เป็นปีที่ 7 (นับตั้งแต่ปี 2558) นอกเหนือจากการรายงานของกรรมการและผู้บริหารตาม เกณฑ์ที่ กลต. กำ �หนดเพื่อเป็นการปลูกฝังจิตสำ �นึกการปฏิบัติงาน ด้วยความโปร่งใสป้องกันการทุจริต และนำ �เสนอรายงานผลต่อคณะ กรรมการกำ �กับดูแลกิจการที่ดี ในปี 2564 ผู้บริหารและพนักงานทุกระดับทั่วทั้งองค์กร ได้จัดทำ � รายงานความขัดแย้งทางผลประโยชน์ครบถ้วน 100% บริษัท ไออาร์พีซี จ� ำกัด (มหาชน) แบบแสดงรายการข้อมูลประจ� ำปี/ รายงานประจ� ำปี 2564 (แบบ 56-1 One Report) 266

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=