ในองค์กร ทั้งจากคณะกรรมการบริษัทฯ ฝ่ายจัดการ และ พนักงาน ทำ �ให้การดำ �เนินการสำ �เร็จลุล่วงอย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการเตรียม ความพร้อมการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล กับ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติอีกด้วย รายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติม จากเว็บไซต์ https://www.ftpi.or.th/2021/69815 2. กา จัดท ำ � ะบบห้องสมุด กฎห ายและกฎเกณฑ์ี่ เกี่ยวข้ อง กับกา ำ �เิ กิจ โ ยใ้ ะบบิ จิั ลเ้ า่ ยใ กา จั เก็บ บ และกา ะเิ ค า อ คล้อง หื อ ะบบกา ค้ หา และกา เก็บ้ อ ล้ า กฎเกณฑ์ (E-Compliance) กฎหมายหรือกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่นำ �มาเข้าระบบนั้นจะถูกนำ �ไป ประเมินความสอดคล้องโดยหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของ บริษัทฯ ซึ่งนับว่าเป็นการนำ �ระบบดิจิทัลเข้ามาช่วยในการกำ �กับดูแล การปฏิบัติงานฯ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง แม่นยำ �และเป็นปัจจุบัน มากขึ้น ตลอดจนสามารถระบุรายละเอียดผู้เกี่ยวข้อง และความ เชื่อมโยงในเรื่องต่างๆ ที่กฎหมายกำ �หนดได้อย่างแม่นยำ � มีการ สื่อสารสื่อความให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องรับทราบ และดำ �เนินการตาม ที่กฎหมายกำ �หนด นับเป็นจุดเริ่มต้นที่มีประโยชน์ต่อองค์กร โดย บริษัทฯ มีแผนที่จะพัฒนาระบบ E-Compliance ให้มีประสิทธิภาพ และสื่อสารให้มีการใช้ระบบอย่างกว้างขวางภายในองค์กรต่อไป 3. กาื่ อ าื่ อค า กา้ างกา ะหั ก้ (Corporate Compliance Communication and Building Awareness) และกาั ฒ ากา กำ �กับ แลกาิ บัิ งา ให้เ็ ไ า กฎห ายและกฎเกณฑ์ บริษัทฯ ได้ดำ �เนินการสร้างความตระหนักรู้มาอย่างต่อเนื่อง อาทิ การอบรมให้ความรู้แก่พนักงานเข้าใหม่ให้ได้รับทราบนโยบาย และคู่มือการกำ �กับกิจการที่ดี การปฏิบัติตามนโยบายต่างๆ ของ บริษัทฯ โดยจัดหลักสูตรเรื่องการปฏิบัติตามคู่มือที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมี เรื่องการกำ �กับดูแลกิจการที่ดี และการกำ �กับดูแลการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ด้วย นอกจากนี้ ยังมีการอบรมให้ความรู้ พนักงานและผู้บริหารระดับหัวหน้างาน เพื่อให้สามารถกำ �กับการ ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ได้อย่างเป็นรูปธรรมได้ดียิ่งขึ้น โดยได้กำ �หนดให้เป็นหลักสูตรการอบรมที่สำ �คัญขององค์กร ในปี 2564 มีการจัดอบรมและการสื่อความที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ • อบรมและสื่อสารคู่มือ PDPA และกฎเกณฑ์เรื่องอื่นๆ เช่น การ ต่อต้านการแข่งขันทางการค้า มาตรการควบคุมภายในเพื่อ ป้องกันการทุจริตและให้สินบน • นำ �เสนอข่าวและประชาสัมพันธ์เรื่อง Corporate Compliance ผ่านช่องทางต่างๆ • สื่อสารความรู้พื้นฐานเรื่อง GRC • จัดทำ � Common Set of Assurance Function Information (GRC share drive) เพื่อให้พนักงานที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าใช้ ข้อมูลร่วมกันได้ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลด้าน GRC เพื่อ สนับสนุนงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งสามหน่วยงานหลัก ของ GRC ในด้านการดำ �เนินการการบูรณาการด้าน GRC (Corporate Governance, Risk & Internal Control และ Corporate Compliance) นั้น ในปี 2564 บริษัทฯ ได้จัดตั้งคณะทำ �งานและ จัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อช่วยให้คำ �ปรึกษาในการดำ �เนินการของบริษัทฯ ให้เหมาะสม และสามารถดำ �เนินการให้สอดคล้องกับมาตรฐาน ต่างๆ ต่อไป 4. กา กำ �กับ แลและกา จ ะเิ กา ายงา่ าง ๆ ลอ จ กา้ างเิ ค าัั์ีี่ อผู้ี่ ไ้ เี ย บริษัทฯ ให้ความสำ �คัญต่อการกำ �กับดูแลกิจการที่ดี และการกำ �กับ ดูแลการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งเน้นให้เกิดประสิทธิภาพ สนองตอบต่อการดำ �เนินธุรกิจและ ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน โดยมีการกำ �กับดูแล ตามแผนงานที่ได้รับอนุมัติ และรายงานต่อคณะกรรมการกำ �กับ ดูแลกิจการที่ดีและคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงตามระยะ เวลากำ �หนด นอกจากนี้ ยังได้นำ �ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะที่เป็น ประโยชน์ของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมาปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป นอกจากนี้ ในด้านการเสริมสร้างมาตรฐานและความสัมพันธ์ที่ดี (Alignment & Synergy) ทั้งภายในและภายนอกนั้น บริษัทฯ ได้ ปฏิบัติงานสอดประสานกันกับบริษัท ปตท. จำ �กัด (มหาชน) และ บริษัทในกลุ่ม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้รับเกียรติจากสมาคมผู้กำ �กับ การปฏิบัติงานระหว่างประเทศ (SCCE) ให้นำ �บทความด้านการกำ �กับ การปฏิบัติงานตามกฎเกณฑ์ลงในนิตยสาร เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข่าวสารและสร้างเสริมความเข้าใจที่ดีเผยแพร่ออกไปยังในกลุ่ม ผู้สนใจด้านการกำ �กับการปฏิบัติงานที่มีอยู่ทั่วโลกอีกด้วย ซึ่งถือเป็น ประโยชน์และเป็นการส่งเสริมให้มีการพัฒนาบุคลากรที่มีจำ �กัด ให้ได้มีความรู้ความชำ �นาญ มีประสบการณ์ในด้านการกำ �กับดูแล การปฏิบัติงานฯ ให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม และมีความรู้ความ สามารถก้าวไปสู่มาตรฐานสากลได้ทัดเทียมประเทศชั้นนำ �ต่อไปด้วย นโยบายการกำ �กับดููแลกิจการ บริษัท ไออาร์พีซี จ� ำกัด (มหาชน) 219
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=