IRPC One Report TH

ปัจจั ำ �คัญอื่นที่จะมีผลต่อ ฐานะกา เงินและการด ำ �เนินงาน ในอนาคต แนวโน้มธุรกิจปี 2565 1. ุกิจปิโต เล ม ทิศทางและแนวโน้มราคาน้ำ �มันดิบปี 2565 คาดการณ์ความ ต้องการใช้น้ำ �มันของโลกอยู่ที่ประมาณ 103 ล้านบาร์เรลต่อวัน เทียบเท่ากับในสภาวะก่อนการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 โดยคาดการณ์ความต้องการใช้น้ำ �มันดังกล่าวเพิ่มขึ้นประมาณ 4.6 ล้านบาร์เรลต่อวัน เทียบกับปี 2564 ที่อยู่ที่ 98.4 ล้านบาร์เรลต่อวัน จากสถานการณ์การแพร่ระบาดโดยรวมของโรคติดเชื้อไวรัส โควิด-19 มีแนวโน้มคลี่คลาย ดังจะเห็นได้จากการกระจายวัคซีน ป้องกันการติดเชื้อไวรัสอย่างแพร่หลาย ทั้งเข็มหลักและเข็มกระตุ้น ภูมิคุ้มกัน (Booster ) ประกอบกับความรุนแรงของอาการ หลังจากได้รับเชื้อไวรัสมีแนวโน้มลดลง ทำ �ให้มีการผ่อนปรน มาตรการควบคุมการแพร่ระบาด นำ �มาซึ่งการเพิ่มขึ้นของกิจกรรม ทางเศรษฐกิจและความเชื่อมั่นในการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ทั้งนี้ สำ �นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้ประมาณการ ว่าเศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 4.8 โดยการฟื้นตัว มีปัจจัยสนับสนุนหลักจากการผ่อนคลายมาตรการจำ �กัดการแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 รวมถึงการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ ผ่านทางนโยบายการคลังและนโยบายการเงินเพื่อบรรเทาผลกระทบ ที่เกิดจากการแพร่ระบาดดังกล่าวเช่นเดียวกับปี 2564 ขณะที่ ปริมาณการผลิตน้ำ �มันดิบในปี 2565 คาดว่าจะปรับเพิ่มขึ้นถึง 6.6 ล้านบาร์เรลต่อวัน อยู่ที่ระดับ 103 ล้านบาร์เรลต่อวัน ซึ่งจะส่งผลให้ ปริมาณการผลิตอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับปริมาณความต้องการ ใช้น้ำ �มัน ทั้งนี้ ปริมาณการผลิตส่วนใหญ่เพิ่มขึ้นจากผู้ผลิตกลุ่มโอเปก 2.9 ล้านบาร์เรลต่อวัน โดยผู้ผลิตกลุ่มโอเปกและพันธมิตรมีนโยบาย ปรับเพิ่มการผลิตเดือนละ 0.4 ล้านบาร์เรลต่อวันจนถึงเดือนเมษายน 2565 และคาดว่าการผลิตของสหรัฐฯ จะปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ล้านบาร์เรลต่อวัน เนื่องจากราคาน้ำ �มันมีแนวโน้มทรงตัวอยู่ ในระดับสูง ทำ �ให้ผู้ผลิตในสหรัฐฯ มีความมั่นใจในการลงทุนมากขึ้น นอกจากนี้ หากการยกเลิกการคว่ำ �บาตรของสหรัฐฯ ต่ออิหร่าน เป็นผลสำ �เร็จตามคาดการณ์ จะทำ �ให้อิหร่านสามารถส่งออกน้ำ �มันดิบ สู่ตลาดได้ประมาณ 1.4 ล้านบาร์เรลต่อวันในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2565 โดยนักวิเคราะห์คาดการณ์ราคาน้ำ �มันดิบดูไบในปี 2565 อยู่ที่ 67-75 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ใกล้เคียงกับราคาเฉลี่ยทั้งปี 2564 ที่ 69 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่มีผลกระทบ ต่อราคาน้ำ �มันดิบในปี 2565 ได้แก่ ความกังวลเกี่ยวกับการแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 หากมีสถานการณ์รูปแบบใหม่เกิดขึ้น จะส่งผลต่อการฟื้นตัวของความต้องการใช้น้ำ �มัน นอกจากนี้ การยกเลิกการคว่ำ �บาตรของสหรัฐฯ ต่ออิหร่านที่ไม่เป็นไปตาม คาดการณ์ รวมถึงการหยุดผลิตที่ไม่เป็นไปตามแผน (Unplanned Shutdown) จะส่งผลให้อุปทานของน้ำ �มันดิบตึงตัวอย่างมาก เป็น ปัจจัยที่สนับสนุนราคาน้ำ �มันดิบ 2. ุกิจปิโต เคมี ความต้องการผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ปี 2565 มีแนวโน้มขยายตัวดีขึ้น เป็นไปในทิศทางเดียวกับอัตราการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก โดย สำ �นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้คาดการณ์ ว่าเศรษฐกิจโลกจะมีการขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 4.8 ซึ่งเป็นไปตาม การฟื้นตัวของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจหลัก อาทิ สหรัฐฯ ยูโรโซน สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย และกลุ่มเศรษฐกิจอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) ที่มีการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาด ประกอบ กับความคืบหน้าในการกระจายวัคซีนและการคิดค้นยาต้านไวรัสที่ ช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้กับตลาดได้มากขึ้น ส่งผลให้ความต้องการ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีคาดว่าจะขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 3-4 ต่อปี โดย ความต้องการมาจากอุตสาหกรรมปลายทางหลัก เช่น อุตสาหกรรม บรรจุภัณฑ์อาหาร สุขอนามัยและเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ การก่อสร้าง เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ รวมไปถึง หุ่นยนต์ ขณะที่ปัจจัยที่น่ากังวล คือ ความเสี่ยงจากการกลายพันธุ์ ของไวรัสสายพันธุ์ใหม่ และแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นเร็วกว่าที่ คาด ซึ่งอาจนำ �ไปสู่ภาวะการเงินที่ตึงตัวได้ นอกจากนี้ ปัจจัยที่ต้อง เฝ้าติดตาม คือ การลดการใช้ Single-use Plastic เพื่อแก้ไขปัญหา สิ่งแวดล้อม อาจส่งผลต่อความต้องการของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี และเม็ดพลาสติกในอนาคตได้ รวมถึงปัญหาการขาดแคลนตู้ คอนเทนเนอร์และเรือขนส่งยังคงส่งผลให้ค่าระวางเรือปรับเพิ่มสูง ขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเป็นอุปสรรคสำ �คัญที่ทำ �ให้ความต้องการใน บางอุตสาหกรรมลดลงอย่างมีนัยสำ �คัญ เนื่องจากราคาที่ปรับตัวสูง ขึ้นตามต้นทุนที่ปรับสูงขึ้น เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ทั้งนี้ ในปี 2565 คาดว่ากำ �ลังการผลิตใหม่ (New Capacity) จะ เริ่มดำ �เนินการผลิตเชิงพาณิชย์เพิ่มมากขึ้นตามความต้องการที่ปรับ เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในจีน เพื่อตอบสนองต่อนโยบายเศรษฐกิจแบบ พึ่งพาตนเอง (Self Sufficiency) ประกอบกับกำ �ลังการผลิตใหม่ จากมาเลเซียที่เลื่อนการผลิตจากปีที่ผ่านมา เนื่องจากสถานการณ์ ของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 อาจส่งผลกระทบต่อส่วนต่างราคา ผลิตภัณฑ์ได้ อย่างไรก็ตาม ช่วงปลายปี 2564 ที่ผ่านมาจีนได้กำ �หนด มาตรการปันส่วนการใช้พลังงาน (Power Rotation) ควบคู่กับ มาตรการ Dual Control เพื่อลดการใช้พลังงานภายในประเทศ ทำ �ให้ผู้ผลิตในจีนบางส่วนจำ �เป็นต้องปรับลดอัตรากำ �ลังการผลิต ปิโตรเคมี ปัจจัยดังกล่าวอาจช่วยคลายความกังวลต่อเรื่องกำ �ลัง การผลิตที่คาดว่าจะปรับเพิ่มขึ้นได้ คําอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ บริษัท ไออาร์พีซี จ� ำกัด (มหาชน) 181

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=