IRPC One Report TH

1.2.2 กำ �ลังการผลิตปิโตรเคมี 1.2.3 ปริมาณและมูลค่าขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี หมายเหตุ: รวมปริมาณและมูลค่าการขายของธุรกิจ Trading (iPolymer) ปิโต เคมี 2564 2563 เปล นแปลง อัตราการใช้กำ �ลังการผลิต กลุ่มโอเลฟินส์ 95% 93% 2% กลุ่มอะโรเมติกส์และสไตรีนิกส์ 99% 98% 1% ในปี 2564 อัตราการใช้กำ �ลังการผลิตของกลุ่มโอเลฟินส์อยู่ที่ร้อยละ 95 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2 จากปี 2563 ที่มีอัตราการใช้กำ �ลังการผลิตอยู่ที่ร้อยละ 93 และอัตราการใช้กำ �ลังการผลิตของกลุ่มอะโรเมติกส์และสไตรีนิกส์อยู่ที่ร้อยละ 99 ใกล้เคียงกับอัตราการใช้กำ �ลังการผลิตในปี 2563 ผลิตภัณฑ์ ปิ มาณกา า (พันตัน) มูลค่ากา า (ล้านบาท) 2564 2563 2564 2563 กลุ่มโอเลฟินส์ 1,062 1,029 42,011 29,578 กลุ่มอะโรเมติกส์และสไตรีนิกส์ 727 703 29,078 17,879 รวม 1,789 1,732 71,089 47,457 รายได้จากการขายสุทธิของกลุ่มุ กิจปิโต เคมี ในปี 2564 เพิ่มขึ้น้ อ ละ 50 เมื่อเทียบกับ ปี 2563 เนื่องจากราคาขายเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 47 และปริมาณขายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 สำ �หรับปี 2564 กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีมีรายได้จาก การขายสุทธิ71,089ล้านบาท เพิ่มขึ้น23,632ล้านบาท หรือร้อยละ 50 จากปีก่อน โดยมีสาเหตุหลักมาจาก ราคาขายเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นร้อยละ 47 และ ปริมาณขายรวมเพิ่มขึ้น 57,000 ตัน หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 โดยส่วนใหญ่ปริมาณขายเพิ่มขึ้นจาก ผลิตภัณฑ์ PP ในกลุ่มโอเลฟินส์และผลิตภัณฑ์กลุ่ม อะโรเมติกส์ ขนาดใหญ่ของหลายประเทศไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ยุโรป รวมถึง ประเทศไทยเอง ซึ่งทำ �ให้ความต้องการทั้งในและต่างประเทศ มีการฟื้นตัวได้ดี ขณะที่ปัญหาข้อจำ �กัดในห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Disruption) จากการขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์ชิป การ ขาดแคลนตู้คอนเทนเนอร์และเรือขนส่ง รวมถึงค่าระวางเรือที่เพิ่ม สูงขึ้น ยังคงเป็นอุปสรรคสำ �คัญที่ทำ �ให้ความต้องการผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมีปรับตัวลดลงอย่างมีนัยสำ �คัญ เนื่องจากราคาที่ปรับตัวสูงขึ้น ตามต้นทุนที่ปรับสูงขึ้น เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น นอกจากนี้ กำ �ลังการผลิต ใหม่ในภูมิภาคเอเชียที่มีความล่าช้ากว่าแผนเดิมที่ได้กำ �หนดไว้จาก สถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำ �ให้มีการเลื่อนแผนการผลิต เชิงพาณิชย์จากปลายปี 2563 มาเป็นช่วงครึ่งหลังของปี 2564 และในปี 2565 ส่งผลต่อราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีในช่วงปลายปี ที่ได้รับแรงกดดันจากกำ �ลังการผลิตที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะจาก ประเทศจีน เกาหลีใต้ อินเดีย และเวียดนาม คําอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ บริษัท ไออาร์พีซี จ� ำกัด (มหาชน) 169

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=