ความเข้มข้นการปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่าย (ตันต่อพันตันการผลิต) เป้าหมา 2564 เป้าหมา 2565 ผ การดำ �เนินงาน 2564 ตัวชี้วัด ความสำ �เร็จ 0.166 0.141 0.151 อุตสาหกรรมไออาร์พีซีและค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวง อุตสาหกรรม เป็นสิ่งที่ช่วยยืนยันถึงประสิทธิภาพการบริหาร จัดการมลภาวะทางอากาศ ออกไซด์ของไนโตรเจน ออกไซด์ของ ซัลเฟอร์ และฝุ่น (NOx SOx TSP) ได้เป็นอย่างดี • การจัดการสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) เริ่มดำ �เนินโครงการปรับปรุงหลังคาของถังที่ใช้เก็บ Reformate ในพื้นที่ของลานถัง โดยเปลี่ยนจาก Cone Roof Tank เป็น Internal Floating Roof ซึ่งมีเป้าหมายแล้วเสร็จในครึ่งปีแรก ของปี 2565 และคาดว่าจะสามารถช่วยลดการระบายสารอินทรีย์ ระเหยง่ายลงได้ ร้อยละ 90 เมื่อเทียบก่อนการปรับปรุง มีการดำ �เนินการเพื่อควบคุม ป้องกันการระบายสารอินทรีย์ ระเหยง่ายในช่วงของงานซ่อมบำ �รุงผ่าน Green Turnaround Concept มุ่งเน้นที่การประเมินความเสี่ยงของการระบายจาก กิจกรรมต่างๆ ของงานให้ครอบคลุม เพื่อหามาตรการที่เหมาะสม มาใช้ป้องกันการระบาย การตรวจวัดที่อุปกรณ์ก่อนเปิดระบบ เพื่องานซ่อมบำ �รุง ตลอดจนมาตรการเฝ้าระวังรอบรั้วโรงงาน เป็นการตรวจสอบเพื่อยืนยันผลการปฏิบัติ รวมถึงใช้วิเคราะห์ หาแหล่งกำ �เนิดที่มีนัยสำ �คัญ เพื่อนำ �ไปสู่การแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ อันเป็นการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน การให้ความร่วมมือกับภาครัฐในการให้ข้อมูลเพื่อจัดทำ �ร่างคู่มือ การปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐาน (Code of Practice: COP) ใน การป้องกันการระบายสารอินทรีย์ระเหยง่ายจากแหล่งกำ �เนิด ที่มีนัยสำ �คัญจากสามแหล่งกำ �เนิด ได้แก่ ถังเก็บ หอเผาทิ้ง และจากงานซ่อมบำ �รุง รวมถึงประสานความร่วมมือกันภายใน ภาคอุตสาหกรรม เพื่อนำ �ร่าง COP ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ ในการดำ �เนินงานจริง เพื่อมุ่งสู่การแก้ไขปัญหา VOCs อย่าง ยั่งยืนร่วมกัน การจัดการน้ำ � น้ำ �จัดเป็นทรัพยากรที่สำ �คัญยิ่ง ไม่เฉพาะกับแค่บริษัทฯ แต่สำ �หรับ ภาคส่วนอื่นๆ ในสังคมเช่นกัน บริษัทฯ จึงเข้าไปมีส่วนร่วมในการ บริหารจัดการน้ำ �ร่วมกับหน่วยงานราชการและผู้ใช้น้ำ �อื่นๆ ทั้ง ภายในและภายนอกกลุ่ม ปตท. ตั้งแต่ต้นทาง เพื่อให้การดำ �เนินงาน ของบริษัทฯ ไม่ไปรบกวนวิถีชีวิตในการใช้น้ำ �อุปโภค บริโภคของ เกษตรกร ภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ และประชาชนทั่วไป โดยในปี 2565 มีการจัดตั้งคณะกรรมการผู้ใช้น้ำ �เพื่อบรรลุเป้าหมายการรักษา สมดุลน้ำ �ดิบในธรรมชาติระหว่างบริษัทฯ และชุมชน ควบคู่ไปกับ การที่บริษัทฯ สามารถดำ �เนินงานได้อย่างต่อเนื่อง ไม่สะดุดจาก สถานการณ์ขาดแคลนทรัพยากรน้ำ � ในการบริหารจัดการการใช้น้ำ �ภายในนั้น ตั้งอยู่บนแนวคิด 3Rs ได้แก่ Reduce การลดการใช้น้ำ �ตั้งแต่ต้นทาง, Reuse และ Recycle ได้แก่ การนำ �น้ำ �เสียที่ผ่านการบำ �บัดจนผ่านมาตรฐานมาใช้ในกิจกรรม อื่นๆ ได้แก่ การรดน้ำ �ต้นไม้และการใช้แทนน้ำ �ในการผสมสารเคมี สำ �หรับด้านดิจิทัลนั้นมีการใช้โปรแกรม i-utility มาช่วยติดตาม ประสิทธิภาพการใช้น้ำ � เพื่อให้เห็นถึงจุดที่สามารถปรับปรุงเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้น้ำ � ซึ่งส่งผลให้ต้องดึงน้ำ �จากธรรมชาติต้นทาง น้อยลงได้อีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีการรณรงค์ให้พนักงานประหยัดน้ำ � ทั้งในชีวิตประจำ �วันและการดำ �เนินการภายในบริษัทฯ ซึ่งการปลูกฝัง ทางจิตสำ �นึกนี้ยังเป็นการส่งเสริมวัฒนธรรมทางด้านการรักษา ทรัพยากรน้ำ �ที่ยั่งยืน บริษัท ไออาร์พีซี จ� ำกัด (มหาชน) แบบแสดงรายการข้อมูลประจ� ำปี/ รายงานประจ� ำปี 2564 (แบบ 56-1 One Report) 152
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=