IRPC One Report TH

โครงการ ำ �ไทรโ งโมเด โครงการลำ �ไทรโยงโมเดล เริ่มดำ �เนินการตั้งแต่กลางปี 2557 ในพื้นที่ ตำ �บลลำ �ไทรโยง อำ �เภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ด้วยวัตถุประสงค์ เริ่มต้นจากการที่บริษัทฯ ต้องการนำ �องค์ความรู้ในด้านการ บริหารจัดการน้ำ �ไปช่วยแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ �ในพื้นที่ แห้งแล้ง โดยพัฒนาและบริหารจัดการให้มีพื้นที่สำ �หรับกักเก็บน้ำ � สำ �หรับทำ �การเกษตรในฤดูแล้งเพิ่มมากขึ้น ซึ่งบริษัทฯ ได้ดำ �เนิน การขยายพื้นที่การทำ �โครงการลำ �ไทรโยงโมเดลออกไปยังพื้นที่อื่นๆ ได้แก่ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดอุดรดิตถ์ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดอุดรธานี และจากการดำ �เนินการอย่างต่อเนื่อง ทำ �ให้พบว่า การขาดแคลนน้ำ �เป็นปัญหาใหญ่และซับซ้อน ซึ่งจะดำ �เนินการแก้ไข แบบแยกส่วนไม่ได้ บริษัทฯ จึงได้ริเริ่มดำ �เนินโครงการลำ �ไทรโยงโมเดล ตามแนวคิดใหม่ที่มองน้ำ � อาหาร และพลังงาน แบบเชื่อมโยงกันเป็น ระบบ (The Water-Food-Energy Nexus) เพื่อนำ �ไปสู่การเปลี่ยนแปลง และช่วยลดผลกระทบจากการขาดแคลนน้ำ �ซึ่งจะเกิดขึ้นเป็นแบบ ลูกโซ่และจะส่งผลกระทบต่อธุรกิจของบริษัทฯ ทั้งทางตรงและทางอ้อม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อนำ �นวัตกรรมขององค์กร พร้อมทั้งองค์ความรู้และศักยภาพ ของบุคลากร ในด้านการบริหารจัดการน้ำ �และการใช้พลังงาน ทดแทน เชื่อมโยงเข้ากับการพัฒนาคุณภาพความเป็นอยู่ของ ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม 2. เพื่อสร้างศักยภาพแก่ชุมชนทางการเกษตร ให้เตรียมพร้อม รับมือกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) และวิกฤตน้ำ � (Water Crises) 3. เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงและยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชน ทางการเกษตรในพื้นที่แห้งแล้ง ให้เป็นชุมชนที่มีความมั่นคง ทางด้านน้ำ �และอาหาร (Water and Food Security) เพื่อเป็น รากฐานที่มั่นคงต่อโครงสร้างการผลิตในภาคการเกษตรของไทย 4. เป็นการสร้างภาคีเครือข่ายในการดำ �เนินโครงการทางสังคมร่วม กับหน่วยงานอื่นๆ ได้แก่ หน่วยงานของรัฐ หน่วยงานเอกชน และหน่วยงานที่ไม่แสวงหาผลกำ �ไร 5. เป็นโครงการต้นแบบให้หน่วยงานเอกชนที่มีศักยภาพ นำ �ไป ดำ �เนินการตามความพร้อมและความสามารถในรูปแบบที่ถนัด เพื่อให้ชุมชนได้ความช่วยเหลือและรับประโยชน์ในวงกว้างมากยิ่งขึ้น 6. เพื่อเป็นการสนับสนุนการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืนของสหประชาชาติ (United Nations Sustainable Development Goals: SDGs) ข้อ 2 ยุติความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหารและยกระดับ โภชนาการ และส่งเสริมเกษตรกรรมที่ยั่งยืน (Zero Hunger) ข้อ 6 สร้างหลักประกันว่าจะมีการจัดให้มีน้ำ �และสุขอนามัย สำ �หรับทุกคน และมีการบริหารจัดการที่ยั่งยืน (Clean Water and Sanitation) ข้อ 7 สร้างหลักประกันว่าทุกคนเข้าถึงพลังงานสมัยใหม่ในราคา ที่สามารถซื้อหาได้ เชื่อถือได้ และยั่งยืน (Affordable and Clean Energy) โครงการ ำ �ไทรโ งโมเด ณ จังหวัดอุดร านี บริษัทฯ ได้ดำ �เนินโครงการลำ �ไทรโยงโมเดล ณ ศูนย์ส่งเสริมพัฒนา คนพิการ สังฆมณฑลอุดรธานี บ้านศรีวัฒนา ตำ �บลบ้านม่วง อำ �เภอ บ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ซึ่งเป็นพื้นที่ที่บริษัทฯ ได้ดำ �เนินโครงการ สร้างอาชีพคนพิการ ในปี 2560 และปัจจุบันศูนย์ฯ แห่งนี้เปิดรับให้ คนพิการและผู้ดูแลคนพิการ (จำ �นวน 51 คน) เข้ามาประกอบอาชีพ ทั้งด้านเกษตรกรรมและเลี้ยงสัตว์ตามความเหมาะสมของร่างกาย และความถนัด แต่เนื่องจากที่ผ่านมาทางศูนย์ฯ ประสบปัญหา ขาดแคลนน้ำ �สำ �หรับทำ �การเกษตรและเลี้ยงสัตว์ในฤดูแล้ง ทำ �ให้ คนพิการต้องหยุดทำ �งานและขาดรายได้เลี้ยงชีพ ดังนั้น บริษัทฯ จึงได้ดำ �เนินโครงการลำ �ไทรโยงโมเดล เพื่อให้ศูนย์ฯ มีน้ำ �สำ �หรับใช้ทำ �การเกษตรและเลี้ยงสัตว์อย่างเพียงพอในช่วง ฤดูแล้ง นอกจากนี้ ยังได้กำ �หนดแผนระยะยาวในการพัฒนารูปแบบ การทำ �เกษตรกรรม โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงและการบริหาร จัดการพื้นที่ของศูนย์ฯ ซึ่งมีประมาณ 200 ไร่ ให้เป็นพื้นที่ทำ �การ เกษตรและเลี้ยงสัตว์อย่างเป็นระบบและถูกสุขลักษณะ ทำ �ให้ศูนย์ ส่งเสริมพัฒนาคนพิการฯ แห่งนี้สามารถเป็นต้นแบบสำ �หรับการ เรียนรู้ในการประกอบอาชีพทางการเกษตรของคนพิการต่อไป IRPC’s SMART Farming ในปี 2564 บริษัทฯ ได้พัฒนาและต่อยอดโครงการลำ �ไทรโยงโมเดล โดยนำ �เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเกษตรที่มีความเหมาะสม มาปรับใช้กับพื้นที่ โดยกำ �หนดพื้นที่จำ �นวน 35 ไร่ ณ ศูนย์ส่งเสริม พัฒนาคนพิการ สังฆมณฑลอุดรธานี ให้เป็นพื้นที่ดำ �เนินโครงการ IRPC Smart Farming ด้วยศูนย์ส่งเสริมพัฒนาคนพิการฯ เป็น พื้นที่ทำ �การเกษตรที่เปิดโอกาสให้คนพิการในด้านต่างๆ ผู้สูงอายุ และผู้ดูแลคนพิการติดเตียงที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ ให้ได้เข้ามา เรียนรู้การทำ �เกษตรกรรมที่มีความเหมาะสมกับศักยภาพและสภาพ ร่างกาย เพื่อนำ �ไปสร้างอาชีพและรายได้ให้แก่ตนเองและครอบครัว ทั้งนี้ ได้กำ �หนดแผนงานระยะเวลา 3 ปี (ปี 2564 – 2566) โดยให้การ สนับสนุนในการจัดหาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเกษตรที่ ไม่ซับซ้อนมากจนเกินไป มีความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และวิถีชีวิต ของเกษตรกรซึ่งเป็นคนพิการ ทั้งนี้ ได้น้อมนำ �หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกา ธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 มากำ �หนดวิสัยทัศน์ในการดำ �เนินโครงการ อันได้แก่ “การทำ �เกษตร แบบผสมผสานเทคโนโลยีที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่และวิถีชีวิต ของชุมชน โดยยึดหลักประหยัด เรียบง่าย และได้ประโยชน์สูงสุด” การขัับเคลื่่� อนธุุรกิจเพื่่� อความยั่่� ง น บริษัท ไออาร์พีซี จ� ำกัด (มหาชน) 141

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=