IRPC Annual Report 2023

การบริหารจััดการความเสี่่� ยง จากสถานการณ์ปัจจุบันที่มีความผันผวนและไม่แน่นอนจากปัจจัย ภายนอกและภายใน โดยบริษัทฯ ให้ความสำ �คัญกับการบริหาร ความเสี่ยง การเตรียมความพร้อมเพื่อจัดการกับสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากความไม่แน่นอน โดยได้มีการกำ �หนดให้มี การบริหารจัดการความเสี่ยงครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร เพื่อ ลดโอกาสและผลกระทบจากเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจกระทบกับ การดำ �เนินงาน รวมถึงการแสวงหาโอกาสการลงทุนในธุรกิจใหม่ เพื่อการเติบโตทางธุรกิจอย่างยั่งยืน ทั้งนี้ บริษัทฯ มีโครงสร้างใน การบริหารจัดการความเสี่ยงโดยมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และควบคุมภายใน (Risk Management and Internal Control Committee) และคณะกรรมการบริหารห่วงโซ่อุปทานและบริหาร ความเสี่ยงตราสารอนุพันธ์ (Supply Chain and Hedging Committee) เพื่อทำ �หน้าที่ในการติดตามวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ ที่เป็นความเสี่ยงต่อการดำ �เนินธุรกิจของบริษัทฯ บริหารความ เสี่ยงด้านราคาของน้ำ �มันดิบ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ราคาค่าขนส่ง และการจัดทำ �ธุรกรรมด้านการเงิน โดยมีการ กำ �กับดูแลโดยคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งได้คัดเลือกคณะกรรมการ บริษัทฯ จำ �นวน 5 ท่าน ทำ �หน้าที่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) ในการกำ �กับดูแล ให้คำ �แนะนำ � การบริหารความเสี่ยงขององค์กร เพื่อให้ความเสี่ยงอยู่ในระดับ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) และสร้างความเชื่อมั่น ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม โดยการบริหารความเสี่ยงได้ดำ �เนินการ ตามมาตรฐานสากล ISO 31000: Risk Management - Principles and guidelines และ COSO - Enterprise Risk Management ร่วมกับหลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดี (The Principles of Good Corporate Governance) ระบบการควบคุมภายใน (Internal Control System) ระบบการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management System) แนวทางการ ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน (Anti-Corruption) การบริหาร จัดการอย่างยั่งยืน (Sustainability Management) และระบบ การบริหารด้านปฏิบัติการที่เป็นเลิศ (Operational Excellence Management System) บริษัทฯ มีการส่งเสริมให้การบริหารความเสี่ยงได้เป็นส่วนหนึ่ง ของวัฒนธรรมองค์กรโดยการสร้างความตระหนัก ความรู้และ ความเข้าใจให้กับผู้บริหารและพนักงาน ในการนำ �ระบบการบริหาร ความเสี่ยงไปเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงาน เพื่อให้ผล การดำ �เนินงานบรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ มีการรายงานต่อ คณะกรรมการชุดต่างๆ ตามที่ได้มีการกำ �หนด มีการติดตาม ความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง มีการปรับปรุงและทบทวนแนวทาง การบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง และมีการสื่อสารให้ความรู้ ความเข้าใจอย่างต่อเนื่องผ่านช่องทางต่างๆ นอกจากนี้ ในปัจจุบัน บริษัทฯ ได้สนับสนุนงานด้าน GRC (Governance, Risk Management & Internal Control, Compliance) และ ESG (Environmental, Social and Governance) เพื่อยกระดับการ บริหารความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น สรุุปกา ดำำ �เนิิ งา้ า กา บริิหา ความเส่� ยงที่่� สำ �คัญ ดัังนี้� 1. ความเสี่่� ยง ากการผััน วนของ ราคาวัตถุุดิบและผลิิตภััณฑ์์ (Price Volatility Risk) ราคาของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ยังคงมีความผันผวนสูงจาก เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในปี 2566 นี้ จากความขัดแย้ง ทางภูมิรัฐศาสตร์และผลกระทบทางเศรษฐกิจที่หลายประเทศยัง คงไม่สามารถฟื้นฟูเศรษฐกิจให้กลับมาเป็นปกติได้หลังผลกระทบ ของโควิด-19 อาทิ เศรษฐกิจที่ยังคงชะลอตัวและเงินเฟ้อยังคงสูง อย่างต่อเนื่องของประเทศในแถบทวีปยุโรป ผลกระทบจากภาค อสังหาริมทรัพย์ที่ขาดสภาพคล่องและการบริโภคที่หดตัวของ ประเทศจีน ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ต่ำ �กว่า คาดการณ์จากการส่งออกที่ยังคงชะลอตัวของประเทศไทย รวมไปถึง ผลกระทบต่ออัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนจากนโยบาย ทางการเงินของสหรัฐอเมริกา ราคาน้ำ �มันดิบซึ่งเป็นวัตถุดิบของบริษัทฯ ยังได้รับผลกระทบ จากความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในตะวันออกกลาง และการกำ �หนด ปริมาณการผลิตจากกลุ่มประเทศผู้ผลิตน้ำ �มันเพื่อการส่งออก โอเปก (OPEC) และโอเปกพลัส (OPEC+) ยังส่งผลถึงอุปสงค์ และอุปทานของน้ำ �มันดิบอย่างมาก รวมไปถึงความขัดแย้งที่อาจ นำ �ไปสู่การปิดช่องทางเดินเรือ ส่งผลให้ค่าเดินเรือที่สูงขึ้น ซึ่ง กระทบกับต้นทุนของบริษัทฯ ราคาของผลิตภัณฑ์ยังคงขึ้นอยู่กับหลากหลายปัจจัย โดยราคาของ ผลิตภัณฑ์จะเปลี่ยนแปลงอ้างอิงจากราคาน้ำ �มันดิบ นอกจากนี้ ดัชนีชี้วัดจากอุปสงค์ของปิโตรเคมีในประเทศจีนยังคงอยู่ระดับต่ำ � ทำ �ให้ราคาของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมียังไม่มีแนวโน้มฟื้นตัว 98 การบริหารจััดการความเสี่่� ยง บริษััท ไออาร์พีีซีี จำำ �กัด (มหาชน)

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=