IRPC Annual Report 2023

า ะต าดนำ� �มัันดิบแ ะ านการณ์ ปีี 2566 ราคาน้ำ �มันดิบดูไบปี 2566 เฉลี่ย 82.1 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ลดลงจากปี 2565 14.24 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล โดยต้นปี 2566 ตลาดมีความคาดหวังถึงความต้องการใช้น้ำ �มันจะเพิ่มขึ้นจากการ ที่จีนเริ่มเปิดประเทศ หลังการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 คาดหวังว่าเศรษฐกิจจะดีขึ้น แต่ไม่ได้เป็นไปตามคาดการณ์ เมื่อวิกฤตอสังหาริมทรัพย์ในจีนมีผลกระทบต่อการฟื้นตัวของ เศรษฐกิจ นอกจากนี้ การล้มละลายของธนาคาร SVB, First Republic และ Signature Bank ในสหรัฐฯ และธนาคารอื่นๆ ใน ยุโรป ทำ �ให้ตลาดกังวลว่าจะลุกลามจนกลายเป็นวิกฤตเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ด้วยอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐฯ ที่สูงทำ �ให้ FED ทยอย ขึ้นอัตราดอกเบี้ยตลอดปี โดยสิ้นปี 2566 อยู่ที่ร้อยละ 5.25-5.50 สร้างแรงกดดันต่อเศรษฐกิจและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ ด้านกลุ่ม โอเปคและประเทศพันธมิตร (OPEC+) ผู้ผลิตน้ำ �มันดิบพยายาม พยุงราคาด้วยการลดการผลิตโดยเฉพาะประเทศซาอุดีอาระเบีย ที่อาสาลดการผลิตเพิ่ม 1 ล้านบาร์เรลต่อวัน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2566 ขณะที่สงครามระหว่างอิสราเอลและกลุ่มฮามาสที่เริ่มขึ้น 7 ตุลาคม 2566 ส่งผลกระทบในช่วงเวลาสั้นๆ แม้เหตุการณ์จะ ไม่ลุกลาม แต่มีผลให้ราคาน้ำ �มันดิบมีความผันผวนในไตรมาส สุดท้ายของปี 2566 คาดการณ์ราคานำ� �มัันดิบปีี 2567 คาดการณ์ว่าแนวโน้มราคาน้ำ �มันดิบดูไบจะเคลื่อนไหวในกรอบ 75-85 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล เนื่องจากคาดว่าความต้องการใช้ น้ำ �มันทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นเพียง 1.5 ล้านบาร์เรลต่อวัน เมื่อเทียบกับปี 2566 จากเศรษฐกิจจีนที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาพรวมอุปสงค์ ในส่วนของกำ �ไรขั้นต้น จากการกลั่น (GRM) คาดว่าจะลดลงเมื่อเทียบกับปี 2566 เนื่องจากมีโรงกลั่นใหม่ที่เริ่มดำ �เนินการผลิตช่วงปลายปี 2566 ได้แก่ Kuwait’s Al-Zour ขนาด 570,000 บาร์เรลต่อวัน Oman’s Duqm ขนาด 230,000 บาร์เรลต่อวัน และ China’s Hebei ขนาด 160,000 บาร์เรลต่อวัน นอกจากนี้ อุปทานน้ำ �มันจากประเทศนอก กลุ่มโอเปค (Non-OPEC) อยู่ในระดับสูง ทำ �ให้ตลาดยังมีอุปทาน ส่วนเกิน คาดว่ากำ �ลังการผลิตน้ำ �มันสำ �รองของกลุ่ม Non-OPEC จะเพิ่มขึ้นเกิน 6 ล้านบาร์เรลต่อวัน ส่งผลให้การดำ �เนินนโยบายลด การผลิตน้ำ �มันดิบของ OPEC+ มีความยุ่งยากมากขึ้น ประเด็นที่ต้องติดตามซึ่งส่งผลต่อราคาน้ำ �มันดิบคือ อัตราดอกเบี้ย ของ FED หากมีการปรับลดลงตามคาดการณ์จะสนับสนุนให้ เศรษฐกิจขยายตัวและส่งผลต่อความต้องการใช้น้ำ �มัน รวมถึงการ ผลิตน้ำ �มันของสหรัฐฯ ซึ่งปัจจุบันผลิตที่ระดับสูงประมาณ 13.1 ล้านบาร์เรลต่อวันจะสร้างแรงกดดันต่อราคา นอกจากนี้ ปัญหา ความขัดแย้งในตะวันออกกลางยังคงเป็นปัจจัยเสี่ยงด้านอุปทาน ภาวะตลาดและแนวโน้มอุุตสาหกรรม 75 โครงสร้างและการดํําเนิิ งา ของกล่� มบริษััท แบบแส งรายการข้อมูลประจำำ �ปี/ รายงา ประจำำ �ปี 2566 (แบบ 56-1 One Report)

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=