IRPC Annual Report 2023

ระบบบำ ำ�ัดน้ำำ� �เสีย (Wastewater Treatment) เป็นระบบ Membrane Bioreactor Plus Activated Carbon Adsorption (MBR Plus AC) ซึ่งเป็นระบบบำ �บัดน้ำ �เสียด้วย กระบวนการทางชีวภาพที่มีประสิทธิภาพในการบำ �บัดสูง มี เสถียรภาพในการเดินระบบ โดยน้ำ �ทิ้งที่ผ่านการบำ �บัดจะมี คุณภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานอย่างสม่ำ �เสมอตามกฎหมายกำ �หนด เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจให้กับชุมชนรอบข้างและสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน ธุุรกิจท่าเรือและถังเก็บผลิตภััณฑ์์ ท่าเรือไออาร์ี ซีี บริษัทฯ ให้บริการท่าเทียบเรือเพื่อขนถ่ายสินค้าทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ โดยมีท่าเทียบเรือพร้อมให้บริการแก่บุคคล ภายนอกรองรับการขนส่งของแต่ละภูมิภาค ดังต่อไปนี้ ท่าเทียบเรือน้ำ �ลึกไออาร์พีซี ภาคตะวันออก ที่อำ �เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ประกอบด้วย ท่าเรือคอนเทนเนอร์และสินค้าทั่วไป Bulk & Container Terminal (BCT): ตัวท่ามีความยาว 900 เมตร และความกว้าง 44 เมตร ประกอบด้วยท่าเทียบเรือ 6 ท่า สามารถรับเรือลำ �เลียง ได้ตั้งแต่ขนาด 800-150,000 ตัน กินน้ำ �ลึกสูงสุด 13.5 เมตร ท่าเรือปิโตรเคมีและปิโตรเลียมเหลว Liquid &Chemical Terminal (LCT): ให้บริการท่าเทียบเรือเพื่อขนถ่ายสินค้า ประเภทของเหลวและก๊าซด้วยอุปกรณ์ขนถ่ายสินค้าที่่ันสมัย มี ประสิทธิภาพและปลอดภัย ตัวท่ามีความยาวประมาณ 1,623 เมตร ประกอบด้วยท่าเทียบเรือขนาดใหญ่ 6 ท่า สามารถรับเรือได้ตั้งแต่ ขนาด 1,000-250,000 ตัน ถังเก็บผลิตภััณฑ์์ บริษัทฯ ให้บริการถังเก็บผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมีเหลว ด้วยทีมงานที่มีประสบการณ์ มีระบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และได้มาตรฐานสากล โดยมีถังเก็บผลิตภัณฑ์จำ �นวน 298 ถัง (ไม่นับรวม 1 ถัง ที่ได้จำ �หน่ายออกไป) สามารถรองรับ การจัดเก็บผลิตภัณฑ์ได้ถึง 2.9 ล้านตัน (ไม่นับรวม 1 ถังที่ ได้จำ �หน่ายออกไป) เพื่อรองรับการจัดจำ �หน่ายผลิตภัณฑ์ของ บริษัทฯ และให้บริการแก่บุคคลภายนอก ตั้งกระจายอยู่ตาม ภูมิภาคต่างๆ ได้แก่ คลังน้ำ �มันระยอง คลังน้ำ �มันพระประแดง คลังน้ำ �มันอยุธยา และคลังน้ำ �มันชุมพร โดยที่คลังน้ำ �มันแต่ละแห่งมี ท่าเทียบเรือเพื่อให้บริการขนถ่ายสินค้าซึ่งจะช่วยให้การดำ �เนินงาน และการกระจายสินค้ามีประสิทธิภาพ ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย และ ลดระยะเวลาในการขนส่ง ธุุรกิจบริหารจั การทรั์ สิ บริษัทฯ ดำ �เนินธุรกิจบริหารจัดการทรัพย์สินซึ่งเป็นที่ดินที่มีศักยภาพ ตั้งอยู่ในจังหวัดระยองและจังหวัดอื่นๆ รวมทั้งสิ้นประมาณ 9,862 ไร่ ไม่นับรวมพื้นที่ร่วมทุนระหว่างบริษัท ไออาร์พีซี จำ �กัด (มหาชน) และบริษัท ดับบลิวเอชเอ อินดัสเตรียล ดีเวลลอปเมนท์ จำ �กัด (มหาชน) (WHAID) ในโครงการนิคมอุตสาหกรรม ดับบลิวเอชเอ อินดัสเตรียล เอสเตท ระยอง (WHAIER) อำ �เภอ บ้านค่าย จังหวัดระยอง จำ �นวน 2,152 ไร่ โดยบริษัทฯ ได้พัฒนา พื้นที่ให้เป็นที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรมและที่ดินที่มีศักยภาพ สนับสนุนการขยายตัวของภาคเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เพื่อรองรับ โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) รวมถึงโครงการตามนโยบายส่งเสริม การลงทุนของภาครัฐอื่นๆ โดยแยกเป็น 2 กลุ่มหลัก ได้แก่ โครงการเขตประกอบการอุตสาหกรรม: เขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์ี ซีี อำ ำเ อเมืองระยอง จังหวั ระยอง ปัจจุบันเป็นโครงการที่เพียบพร้อมไปด้วยระบบสาธารณูปโภค พื้นฐานและระบบสาธารณูปการต่างๆ โดยมุ่งเป็นศูนย์กลางใน การเชื่อมระบบนิเวศและห่วงโซ่การผลิตวัสดุหรือผลิตภัณฑ์จาก ต้นน้ำ �ที่ประกอบด้วยอุตสาหกรรมโรงกลั่นปิโตรเลียมและโรงผลิต ปิโตรเคมีครบวงจร สู่ปิโตรเคมีขั้นปลายและอุตสาหกรรมขั้นปลาย โดยตรง (Direct Downstream) อันเป็นหัวใจของอุตสาหกรรม ปิโตรเลียม ปิโตรเคมีสมัยใหม่ รวมไปถึงเตรียมความพร้อม รองรับอุตสาหกรรมที่ได้รับการส่งเสริมจากเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) อาทิ กลุ่ม อุตสาหกรรมชีวภาพ (Bio Product) กลุ่มอุตสาหกรรมการแพทย์ ครบวงจร (Health Life & Science) และกลุ่มอุตสาหกรรมเพื่อ พัฒนาเป็นวัตถุดิบสำ �หรับอุตสาหกรรมขั้นสูง (Advance Material) ท่� ดิินอื่� ๆ ท่� มีีักย า ที่ดินแปลงใหญ่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาในพื้นที่อำ �เภอจะนะ จังหวัดสงขลา ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 2,300 ไร่ มีศักยภาพใน การพัฒนาเป็นพื้นที่เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรม และพัฒนาเป็น พื้นที่พาณิชยกรรมรองรับการขยายตัวของโครงการพัฒนาท่าเรือ น้ำ �ลึกและโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน รวมไปถึงพื้นที่อื่นๆ ใน จังหวัดระยอง ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้มีการลงนามบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding: MOU) ร่วมกับเครือ โรงพยาบาลบางปะกอกและโรงพยาบาลปิยะเวท ในการศึกษาธุรกิจ โรงพยาบาลและที่พักเพื่อสุขภาพ (Hospital & Wellness Center) ซึ่งสอดคล้องกับแผนการพัฒนาพื้นที่และแนวโน้มของประชากร ที่เข้าสู่สังคมผู้สูงวัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและสุขภาพ ประชาชนในพื้นที่จังหวัดระยอง รวมถึงจังหวัดใกล้เคียง 66 โครงสร้างและการดํําเนิิ งา ของกล่� มบริษััท บริษััท ไออาร์พีีซีี จำำ �กั (มหาช )

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=