IRPC Annual Report 2023

บริษัทฯ สนองนโยบายภาครัฐ ผลิตน้ำ �มันดีเซลมาตรฐานยูโร 5 และเริ่มจำ �หน่ายวันที่ 25 ธันวาคม 2566 ลัก ณะการประกอบธุุรกิจ บริษัท ไออาร์พีซี จำ �กัด (มหาชน) เป็นผู้ดำ �เนินธุรกิจปิโตรเคมี ครบวงจรแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ที่จังหวัดระยอง ซึ่งเป็นเขตประกอบการอุตสาหกรรมภายใต้การจัดการของบริษัทฯ โดยโครงสร้างการผลิตประกอบด้วย โรงงานปิโตรเลียมและ โรงงานปิโตรเคมี พร้อมระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานที่สนับสนุน การดำ �เนินธุรกิจทั้งท่าเรือน้ำ �ลึก คลังน้ำ �มัน และโรงไฟฟ้า ธุุรกิิจปิิโตรเลีียม บริษัทฯ ดำ �เนินธุรกิจกลั่นน้ำ �มัน โดยโรงกลั่นน้ำ �มันของบริษัทฯ มี กำ �ลังการผลิตรวม 215,000 บาร์เรลต่อวัน จัดอยู่ในอันดับ 3 ของ กำ �ลังการกลั่นน้ำ �มันในประเทศ สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ได้หลากหลายชนิด ประกอบด้วย ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) แนฟทา น้ำ �มันเบนซิน น้ำ �มันดีเซล และน้ำ �มันเตา นอกจากนี้ บริษัทฯ มีโรงงานผลิตน้ำ �มันหล่อลื่นพื้นฐาน (Lube Base Oil Group I) กำ �ลังการผลิต 320,000 ตันต่อปี และยางมะตอยขนาดกำ �ลัง การผลิต 600,000 ตันต่อปีซึ่งมีกำ �ลังการผลิตสูงสุดภายในประเทศ โดยบริษัทฯ ยังถือเป็นโรงกลั่นรายแรกของประเทศไทยในการริเริ่ม จำ �หน่ายยางมะตอยเกรด 40/50 เข้าตลาดในประเทศ พร้อมด้วย คุณภาพมาตรฐาน มอก. นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังเป็นผู้ผลิต วัตถุดิบในการผลิตยางล้อรถยนต์และยางสังเคราะห์ (Rubber Process Oil) ที่เป็นที่ยอมรับและรับรองด้านคุณภาพในระดับสากล โครงการปรับปรุงคุณ า � �มั เ ล จากนโยบายของทางภาครัฐที่ต้องการจะลดปัญหามลพิษ ทางอากาศและฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 และได้กำ �หนดให้ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567 เป็นต้นไป น้ำ �มันเชื้อเพลิงที่จำ �หน่าย ภายในประเทศไทยต้องเป็นน้ำ �มันมาตรฐานยูโร 5 (กำ �มะถันไม่เกิน 10 ppm) น้ำ �มันมาตรฐานยูโร 5 คือ น้ำ �มันเชื้อเพลิงที่มีกำ �มะถันต่ำ �กว่า 10 ppm สามารถช่วยลดการปล่อยก๊าซไฮโดรคาร์บอนและออกไซด์ ของไนโตรเจน โดยในน้ำ �มันเบนซินได้มีการปรับลดปริมาณ กำ �มะถันให้ไม่เกินกว่า 10 ส่วนในล้านส่วน (10 ppm) และในส่วน ของน้ำ �มันดีเซลก็จะมีการปรับลดปริมาณกำ �มะถันให้ไม่เกินกว่า 10 ส่วนในล้านส่วน (10 ppm) และยังปรับลดในส่วนของปริมาณสาร Polycyclic Aromatic Hydrocarbon (PAHs) ให้ไม่สูงกว่าร้อยละ 8 โดยน้ำ �หนัก ช่วยลดเขม่าจากการเผาไหม้ที่เกิดจากเครื่องยนต์ สันดาปและช่วยลดมลพิษจากฝุ่น PM 2.5 บริษัทฯ จึงได้เริ่มปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต โดยเป็นโครงการ ปรับปรุงประสิทธิภาพโรงกลั่นและปรับปรุงคุณภาพน้ำ �มันดีเซล (Ultra Clean Fuel Project: UCF) ซึ่งโครงการดังกล่าวจะเพิ่ม ความสามารถในการแข่งขันของบริษัทฯ และทำ �ให้บริษัทฯ สามารถ ผลิตน้ำ �มันดีเซลชนิดกำ �มะถันต่ำ �ได้เต็มกำ �ลังการผลิต จากเดิมที่ผลิต น้ำ �มันดีเซลชนิดกำ �มะถันสูงในสัดส่วนประมาณร้อยละ 50 และต้อง ส่งออกไปยังภูมิภาคในแถบเอเชีย ซึ่งในอนาคตตลาดน้ำ �มันดีเซล กำ �มะถันสูงจะมีความต้องการซื้อค่อนข้างจำ �กัด คาดว่าจะเหลือ เพียงการขายเป็นเชื้อเพลิงเรือเดินสมุทรและสำ �หรับลูกค้าในกลุ่ม ประมงเท่านั้น อีกทั้งผู้ซื้อมีทางเลือกที่ใช้น้ำ �มันเตากำ �มะถันต่ำ �ที่ ราคาถูกกว่า ส่งผลให้การขายน้ำ �มันดีเซลกำ �มะถันสูงมีการแข่งขัน ด้านราคาอย่างรุนแรง ส่งผลให้ผลประโยชน์ของบริษัทฯ ลดลง จากโครงการนี้บริษัทฯ สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และรองรับความต้องการบริโภคน้ำ �มันดีเซลในประเทศที่เพิ่มขึ้น รวมถึงบริษัทฯ ยังสามารถส่งออกไปยังประเทศในภูมิภาคต่างๆ 64 โครงสร้างและการดํําเนิิ งา ของกล่� มบริษััท บริษััท ไออาร์พีีซีี จำำ �กั (มหาช )

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=