การกำ �กับดููแลการดำ�เนินงานของ บริิษัั่ อยและบริิษัั่ กลไกการกำ �กับดููแล นอกจากการกำ �กับดูแลกิจการผ่านการบริหารโดยประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้บริหารระดับสูงแล้ว คณะ กรรมการบริษัทฯ มีแนวทางในการกำ �กับดูแลกิจการของบริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทร่วมทุน ผ่านทางผู้แทนของบริษัทฯ ซึ่งเป็น ผู้บริหารระดับสูงที่ได้รับการเสนอชื่อให้ไปดำ �รงตำ �แหน่งกรรมการ หรือผู้บริหารของบริษัทย่อย บริษัทร่วมบริษัทร่วมทุน โดยการเสนอชื่อ ดังกล่าวจะต้องได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหาร ทรัพยากรบุคคลและศักยภาพองค์กร (HOMC) และได้รับการอนุมัติ จากคณะกรรมการบริษัทฯ (รายละเอียดตามโครงสร้างธุรกิจและ การถือหุ้น หน้า 93) และในการตัดสินใจเรื่องการลงทุน และ การดำ �เนินธุรกิจที่สำ �คัญจะต้องได้รับการพิจารณาเห็นชอบโดย คณะกรรมการกลั่นกรองการลงทุน หรือคณะกรรมการจัดการ หรือ คณะกรรมการบริษัทฯ แล้วแต่กรณี พร้อมทั้งกำ �หนดให้มีการรายงาน ความก้าวหน้าและดำ �เนินงานที่สำ �คัญต่อคณะกรรมการทราบเป็นระยะ บริษัทฯ ได้ประกาศใช้นโยบายการบริหารจัดการแบบกลุ่มไออาร์พีซี (IRPC Group Way of Conduct Policy) ตั้งแต่ปี 2564 ตลอด จนจัดทำ �คู่มือการบริหารจัดการแบบกลุ่มไออาร์พีซี (IRPC Group Way of Conduct Handbook) เพื่อกำ �หนดหลักการกำ �กับดูแล บริษัทในกลุ่มไออาร์พีซี (Governance Principles) อันประกอบด้วย 1) การกำ �หนดตำ �แหน่งงานหลักในการส่งผู้บริหารและพนักงาน ไออาร์พีซีไปปฏิบัติงาน (Key Strategic Position) 2) การจัดทำ �ข้อบังคับ ระเบียบ ข้อกำ �หนด และนโยบาย (Rules and Regulations) รวมถึงคำ �สั่งต่างๆ เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยง ระหว่างการกำ �กับดูแลตามนโยบายของบริษัทฯ และการนำ �นโยบาย ไปปฏิบัติให้บรรลุผล 3) การรายงานตามสายบังคับบัญชาและการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Reporting Line and Performance Management) 4) การกำ �กับดูแลตามลำ �ดับชั้น (Multi-level Governance) เนื่องด้วยกลุ่มไออาร์พีซีมีการดำ �เนินธุรกิจที่หลากหลายและ มีความซับซ้อน แตกต่างกัน ดังนั้น เพื่อให้การบริหารจัดการ แบบกลุ่มไออาร์พีซีเป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีความชัดเจน และมีความเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ จึงได้ออกแบบแนวทาง การบริหารจัดการในลักษณะการกำ �กับดูแลตามลำ �ดับชั้น หรือ Multi-level Governance โดยอาศัยกลไกความร่วมมือของบริษัท ในกลุ่มไออาร์พีซี ส่งผลให้เกิดการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐาน เดียวกันและบรรลุวัตถุประสงค์ทางธุรกิจด้วยความยั่งยืน บนพื้นฐานของค่านิยมขององค์กร “I-SPIRIT” 5) การกำ �กับดูแลโดยคณะกรรมการจัดการ (Management Committee) คณะกรรมการต่าง ๆ ทั้งระดับคณะกรรมการและ ระดับฝ่ายจัดการ รวมถึงคณะกรรมการเฉพาะเรื่องด้านต่างๆ ถือเป็นส่วนสำ �คัญในการขับเคลื่อนการบริหารจัดการแบบกลุ่ม ไออาร์พีซีให้บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ ในปี 2566 เพื่อให้การบริหารงานของบริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัท ร่วมทุนเป็นไปอย่างมีระบบ สอดคล้องตามหลักการกำ �กับดูแล กิจการที่ดีและทิศทางกลยุทธ์ของบริษัทฯ บริษัทฯ ได้แต่งตั้ง คณะกรรมการบริหารความร่วมมือบริษัทในกลุ่มไออาร์พีซีที่บริษัทฯ ถือหุ้นมากกว่าร้อยละ 50 (IRPC Subsidiary Al ignment Management Committee: ISAC 1) และคณะกรรมการบริหาร ความร่วมมือบริษัทร่วมไออาร์พีซีที่บริษัทฯ ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 25-50 (IRPC Subsidiary Alignment Management Committee: ISAC 2) เพื่อใช้เป็นกลไกในการกำ �กับดูแล ส่งเสริม สนับสนุน และผลักดัน การดำ �เนินงาน ตลอดจนกระบวนการทำ �งานต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส สอดคล้องตามเป้าหมายของบริษัทฯ ภายใต้แนวทาง การบริหารแบบกลุ่มไออาร์พีซี และนโยบายการกำ �กับดูแลกิจการที่ดี การติิ ามให้มีการปฏิิบัติิ ามนโยบาย และแนวปฏิิบัติิในการกำ �กับดููแลกิจการ 1) การดููแลเรื� องการใช้้ข้อมูลภายใน บริษัทฯ ให้ความสำ �คัญต่อการใช้ข้อมูลภายในของบริษัทฯ และ บริษัทย่อย โดยมุ่งมั่นให้มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทฯ ได้กำ �หนดนโยบายป้องกันการใช้ข้อมูลภายในโดยมิชอบ (Insider Trading) และช่วงเวลาห้ามซื้อขายหลักทรัพย์ (Blackout Period) เพื่อให้มีการดูแลข้อมูลที่มีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ ที่ยังไม่สามารถเปิดเผยได้ (“ข้อมูลภายใน” หรือ Non-public Price Sensitive Information) และเพื่อมิให้กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และ ผู้เกี่ยวข้อง นำ �ข้อมูลภายในที่ยังมิได้เปิดเผยต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือสาธารณชนไปใช้เพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตนหรือบุคคลอื่น ไม่ว่าจะโดยทางตรงและทางอ้อม โดยกำ �หนดแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ (1) ห้ามกรรมการ ผู้บริหาร (ตามนิยามสำ �นักงาน ก.ล.ต.) พนักงานใน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลภายใน (บัญชี การเงิน เลขานุการ บริษัท สำ �นักตรวจสอบภายใน นักลงทุนสัมพันธ์กลยุทธ์องค์กร บริหารการลงทุน บริหารความเสี่ยง สำ �นักกิจการองค์กร) ซื้อ-ขาย หลักทรัพย์ของบริษัทฯ ภายใน 30 วัน ก่อนมีการเปิดเผย งบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำ �ปี หรือได้มีการแจ้ง ข้อมูลสารสนเทศต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ แล้ว หรือก่อนข้อมูล ภายในนั้นจะถูกเปิดเผยต่อสาธารณชน และภายใน 48 ชั่วโมง หลังการเปิดเผยงบการเงินดังกล่าว (Blackout Period) โดย เลขานุการบริษัทจะประกาศช่วงเวลาห้ามซื้อ-ขายหลักทรัพย์ให้ บุคคลที่บริษัทฯ กำ �หนดดังกล่าวทราบเป็นการล่วงหน้า 262 รายงานผลการดำำ �เนินงานที่่� สำำ �คััญด้้านกำ �กับดููแลกิจการที่่� ดีี บริษัั ไออาร์พีีซีี จำ �กั (มหาชน)
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=