IRPC Annual Report 2023

1.1 การพัฒนาสมรรถนะในงาน (Work Competency) โดยจัดกลุ่ม ของสมรรถนะตามภาพรวมของการทำ �งานที่ให้ความสำ �คัญ ในงานตามแต่ละสายอาชีพ (Value Chain) เพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะของพนักงานภายในองค์กรให้เหมาะสมต่อบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบที่จำ �เป็นต่อการปฏิบัติงาน และใช้วางแผน การพัฒนาตนเอง และส่งเสริมศักยภาพของพนักงานให้สูงขึ้น เป็นมาตรฐานในวิชาชีพ เน้นให้พนักงานได้พัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะที่จำ �เป็นของแต่ละสายอาชีพ ซึ่งใน ปัจจุบันมี 7 กลุ่มความชำ �นาญ เพื่อนำ �ความรู้ ความสามารถ ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.2 การพัฒนาสมรรถนะผู้นำ � (Leadership Competency) เน้นการพัฒนาด้านความเป็นผู้นำ �และความรู้ด้านธุรกิจของ พนักงานแต่ละระดับ เริ่มจากการพัฒนาดังนี้ • การพัฒนา Onboarding ซึ่งผ่านการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ตั้งแต่การปฐมนิเทศพนักงานใหม่ (Orientation for new employees) การพัฒนาตนเอง (Self-Development) การ เรียนรู้ในงานเฉพาะ (Specialized) และ Common Course ในแนวทางการปฏิบัติงานด้าน QSHE รวมทั้งหลักสูตรที่ ตอบสนองต่อค่านิยมที่สะท้อนสมรรถนะ (Competency) และหลักธรรมาภิบาล (Corporate Governance) ที่จำ �เป็น • การพัฒนาพนักงานระดับปฏิบัติการเบื้องต้น LEAD 1 (Leadership Development Program 1) เพื่อเรียนรู้ การดำ �เนินธุรกิจพื้นฐานและเรียนรู้ในเรื่องการรู้จักตนเอง รวมทั้งการทำ �งานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Lead Self) • การพัฒนาพนักงานระดับบังคับบัญชา LEAD 2 (Leadership Development Program 2) เพื่อเรียนรู้หลักการดำ �เนินธุรกิจ และการเป็นผู้นำ �ทีมที่มีประสิทธิภาพ (Lead Team) • การพัฒนาพนักงานระดับบริหาร LEAD 3 (Leadership Development Program3) ซึ่งเป็นหลักสูตรที่เน้นการพัฒนา ผู้นำ �โดยเนื้อหาจะพัฒนาสมรรถนะหลัก/ผู้นำ �ของพนักงาน ระดับจัดการ และเรียนรู้การบริหารจัดการด้านธุรกิจ (Business Management Program) เพื่อบริหาร/จัดการ เปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพ (Lead Function) • การพัฒนาผู้บริหารระดับ VP/LEAD 4 (Junior Executive Leadership Development Program) เพื่อพัฒนาผู้บริหาร โดยมีหลักสูตรพัฒนาด้าน Leadership และ Business เพื่อการวางแผนกลยุทธ์องค์กร (Lead Business) รวมทั้ง มีหลักสูตรสัมมนาภายนอกเพื่อเตรียมความพร้อมสำ �หรับ ผู้บริหารที่มีศักยภาพ ได้แก่ หลักสูตรของ TMA (สมาคม การจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย) สถาบัน CCL (Center for Creative Leadership) SEP (ศศินทร์) EDP (สถาบัน วิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง) สถาบันพระปกเกล้า ฯลฯ • การพัฒนาผู้บริหารระดับสูง LEAD 5 (Execut ive Leadership Development Program) เป็นหลักสูตร พัฒนาผู้บริหารระดับสูง มีหลักสูตรพัฒนาด้าน Leadership และ Business เพื่อการเติบโตขององค์กร (Lead Growth) • โปรแกรมการพัฒนาสมรรถนะผู้นำ �ของพนักงานกลุ่มผู้มี ศักยภาพสูง Next role (Talent Pool Development through Succession Planning) • โปรแกรมเพื่อพัฒนาผู้บริหารระดับสูง ร่วมกับกลุ่ม ปตท. ในหลักสูตร Leadership (LDP I – III) สำ �หรับผู้บริหารใน กลุ่ม VP/EVP/SEVP Pool 2. การเตรียมความพร้อมบุคลากรรายบุคคล บริษัทฯ ได้จัดทำ �กรอบ Success Profile เพื่อเป็นแนวทางใน การพัฒนาผู้บริหารกลุ่มศักยภาพ (Management Pool) ควบคู่ กับการจัดทำ �แผนการสืบทอดตำ �แหน่ง (Succession Planning) ของผู้บริหารระดับสูงที่มีความสำ �คัญกับธุรกิจของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง และดำ �เนินการวางแผนการพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan: IDP) เพื่อเป็นแนวทางที่จะ ช่วยให้พนักงานในบริษัทฯ สามารถปฏิบัติงานได้บรรลุตาม เป้าหมายในงานของตน เพื่อให้การบริหารจัดการมีความต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพและรองรับการเติบโตของบริษัทฯ 3. การยกระดับพฤติกรรมพึงประสงค์ บริษัทฯ ได้ขับเคลื่อนพฤติกรรมพึงประสงค์ G3 (Good Great Growth To Success) หรือ “ดี เก่ง กล้า” ผ่านผู้บริหารทุกระดับ และเชื่อมโยงกับระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล เช่น ระบบ การบริหารการปฏิบัติงาน เป็นต้น โดยมุ่งเน้นให้เกิดเป็นพฤติกรรม “ดี เก่ง กล้า” ของพนักงานทุกคนที่จะสนับสนุนให้เกิดความสำ �เร็จ ในการทำ�งานของหน่วยงานและองค์กร มีรายละเอียดดังนี้ 247 โครงสร้างการกำ �กับดููแลกิจการและข้้อมููลสำ �คัญเก่� ยวกับคณะกรร การ คณะกรร การชุุดย่่อย และผู้้� บริหาร แบบแส งรายการข้้อมููลประจำ �ปี/ รายงานประจำ �ปี 2566 (แบบ 56-1 One Report)

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=