(4) คุณลักษณะด้านความรู้ความชำ �นาญเฉพาะด้าน (Skill Characteristics) ที่สอดคล้องกับธุรกิจ และความต้องการของบริษัทฯ หรือตามเงื่อนไข ที่มีความจำ �เป็น และหากอยู่ในบัญชีรายชื่อหรือ ฐานข้อมูลกรรมการ (Directors’ Pool) ขององค์กร ที่น่าเชื่อถือ หรือของหน่วยราชการที่มีการรับรอง ก็จะเป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ (5) คุณสมบัติอื่นๆ ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ บริษัทฯ กำ �หนด 1.2.4 การเลือกตั้งกรรมการเพื่อทดแทนกรรมการที่ลาออก เป็นอำ �นาจของคณะกรรมการบริษัทฯ ส่วนการเลือกตั้ง กรรมการเพื่อทดแทนกรรมการที่ครบวาระ จะต้องได้รับ ความเห็นชอบโดยเสียงข้างมากของที่ประชุมผู้ถือหุ้น 1.3 พิจารณากลั่นกรองหลักเกณฑ์และกระบวนการสรรหากรรมการ บริษัทฯ เพื่อนำ �เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ 1.4 พิจารณาสรรหาบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการ บริษัทฯ ทั้งในกรณีที่มีตำ �แหน่งว่าง หรือกรณีกรรมการครบวาระ เพื่อนำ �เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมัติ แล้วแต่กรณี 1.5 พิจารณากลั่นกรองรายชื่อและคุณสมบัติของกรรมการบริษัทฯ ที่ สมควรได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อนำ �เสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ 2. ด้านการกำ �หนดค่าตอบแทน 2.1. พิจารณาเสนอแนะโครงสร้าง หลักเกณฑ์ และรูปแบบการจ่าย ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ กรรมการชุดย่อย เช่น ค่าตอบแทน ประจำ �(RetainerFees) โบนัสบำ �เหน็จเบี้ยประชุมและค่าตอบแทน ในรูปแบบอื่น ทั้งที่เป็นตัวเงินและมิใช่ตัวเงินที่เหมาะสมกับ ขนาดของธุรกิจ เพียงพอ และเป็นธรรม สามารถจูงใจและ รักษากรรมการที่มีคุณภาพไว้ได้ สอดคล้องกับการดูแล รักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น โดยค่าตอบแทนกรรมการ บริษัทฯ และกรรมการชุดย่อย จะต้องนำ �เสนอต่อที่ประชุม ผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2.2. พิจารณากำ �หนดค่าตอบแทนกรรมการที่เชื่อมโยงกับกลยุทธ์ องค์กรทั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยมีระดับและองค์ประกอบ ของค่าตอบแทนที่เหมาะสมเพียงพอกับขนาดและความซับซ้อน ของธุรกิจ เพื่อจูงใจและรักษากรรมการที่มีคุณภาพตามที่ต้องการ ให้อยู่กับบริษัทฯ ไว้ได้ อันจะทำ �ให้เกิดการปฏิบัติหน้าที่อย่างมี ประสิทธิภาพ บรรลุเป้าหมายขององค์กร ดูแลผลประโยชน์ของ บริษัทฯ และผู้ถือหุ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.2.3 คณะกรรมการบริษัทฯ ควรประกอบด้วยกรรมการที่มี ความหลากหลาย (Board Diversity & Inclusion) ทั้ง ด้านทักษะ ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ (Board Skill Matrix) อายุ และเพศ โดยต้องมีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย ข้อบังคับของ บริษัทฯ หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และ หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง อาทิ (1) คุณสมบัติตามกฎหมายสอดคล้องตามพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจำ �กัด พระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศคณะกรรมการกำ �กับ ตลาดทุน กฎระเบียบของคณะกรรมการกำ �กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กฎระเบียบของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อบังคับบริษัทฯ คู่มือการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และ ข้อกำ �หนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงไม่มีลักษณะ ที่แสดงถึงการขาดความเหมาะสมที่จะได้รับความ ไว้วางใจให้บริหารจัดการกิจการของบริษัทฯ (2) คุณสมบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่24มกราคม 2554 เรื่องการแต่งตั้งข้าราชการระดับสูงหรือบุคคล ดำ �รงตำ �แหน่งกรรมการในรัฐวิสาหกิจ และ/หรือ นิติบุคคลที่รัฐวิสาหกิจเป็นผู้ถือหุ้นหลายแห่ง (ไม่เกิน 3 แห่ง) โดยมีสาระสำ �คัญ ดังนี้ (ก) ดำ �รงตำ �แหน่งกรรมการในรัฐวิสาหกิจ และ/หรือ นิติบุคคลที่รัฐวิสาหกิจเป็นผู้ถือหุ้นได้ไม่เกิน 3 แห่ง (ข) ดำ �รงตำ �แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ไม่เกิน 3 แห่ง ทั้งนี้ การดำ �รงตำ �แหน่งกรรมการตาม ความใน (ก) และ (ข) รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 5 แห่ง (3) คุณลักษณะทั่วไป (General Characteristics) หรือคุณลักษณะที่ส่งเสริมภาพลักษณ์การกำ �กับ ดูแลกิจการที่ดี อาทิ ความมีคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ ความมีวุฒิภาวะ ความคิดสร้างสรรค์ ความเป็นอิสระ กล้าแสดงความคิดเห็นที่แตกต่าง การตัดสินใจด้วยข้อมูลเหตุผล การยึดมั่นในหลักการ และมาตรฐานเยี่ยงมืออาชีพ การปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความระมัดระวังและความซื่อสัตย์ (Duty of Care, Duty of Loyalty) การทุ่มเท อุทิศเวลา สุขภาพร่างกายที่แข็งแรง เพื่อให้มีความพร้อมสำ �หรับ การประชุมและการปฏิบัติตนในฐานะกรรมการ ให้เป็นที่ยอมรับของสังคม 233 โครงสร้างการกำ �กับดููแลกิจการและข้้อมููลสำ �คัญเก่� ยวกับคณะกรร การ คณะกรร การชุุดย่่อย และผู้้� บริหาร แบบแส งรายการข้้อมููลประจำ �ปี/ รายงานประจำ �ปี 2566 (แบบ 56-1 One Report)
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=