IRPC Annual Report 2023

จากการล้มละลายของหลายธนาคารในสหรัฐฯ ยุโรป และจีน ส่งผลกระทบต่อความต้องการใช้น้ำ �มันทั่วโลก ถึงแม้จะมีปัจจัย ที่ทำ �ให้ราคาน้ำ �มันดิบผันผวนเป็นระยะๆ จากการปรับลดกำ �ลัง การผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ของกลุ่มโอเปกและ พันธมิตร และความขัดแย้งทางการเมืองในหลายประเทศ ได้แก่ อิสราเอล-ฮามาส รัสเซีย-ยูเครน ซึ่งการลดลงของราคาน้ำ �มันดิบ ส่งผลให้เกิดการขาดทุนจากสต็อกน้ำ �มัน 2,488 ล้านบาท หรือ 1.02 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ขณะที่มีการกลับรายการปรับลด มูลค่าสินค้าคงเหลือให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่ได้รับ (กลับรายการ NRV) 1,026 ล้านบาท หรือ 0.42 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ บันทึกกำ �ไรจากการบริหารความเสี่ยง น้ำ �มันที่เกิดขึ้นจริง (Realized Oil Hedging) 339 ล้านบาท หรือ 0.14 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล จากรายการดังกล่าวส่งผลให้ บริษัทฯ บันทึกขาดทุนจากสต็อกน้ำ �มันสุทธิ (Net Inventory Loss) รวม 1,123 ล้านบาท หรือ 0.46 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ส่งผล ให้บริษัทฯ มีกำ �ไรขั้นต้นจากการผลิตทางบัญชี (Accounting GIM) จำ �นวน 18,221 ล้านบาท หรือ 7.44 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จากปีก่อน นอกจากนี้ บริษัทฯ มีกำ �ไรก่อน ดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ �หน่าย (EBITDA) จำ �นวน 5,754 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,767 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 44 โดยในปี 2566 มีกำ �ไรจากการด้อยค่าและตัดจำ �หน่ายทรัพย์สิน จำ �นวน 822 ล้านบาท โดยหลักมาจากการกลับรายการด้อยค่า พัสดุคงคลัง ซึ่งในปี 2566 บริษัทฯ บันทึกผลการดำ �เนินงาน ขาดทุนสุทธิ 2,923 ล้านบาท น้อยกว่าปี 2565 ที่ร้อยละ 33 รายได้้จากการขายสุทธิิ ลการดำ �เนินงาน 1. ผลการดำำ �เนิิ งา ตามกล่� มธุุรกิจ 1.1 กลุ่มธุุรกิจปิิโตรเลียม 1.1.1 สถานการณ์์ตลาดนำ� �มัน สถานการณ์ตลาดน้ำ �มันดิบในปี 2566: ปริมาณการใช้น้ำ �มันของ โลกอยู่ที่ 102.3 ล้านบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้น 1.8 ล้านบาร์เรลต่อวัน จากปี 2565 ที่ 100.5 ล้านบาร์เรลต่อวัน โดยราคาน้ำ �มันดิบ ดูไบเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ 70.29-96.77 เหรียญสหรัฐต่อ บาร์เรล ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 82.10 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ลดลง 14.24 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล จากปี 2565 ที่มีราคาเฉลี่ย อยู่ที่ 96.34 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล โดยในช่วงต้นปี 2566 ราคาน้ำ �มันดิบมีปัจจัยสนับสนุนจากการที่ตลาดคาดการณ์ว่า การเปิดประเทศของจีนจะมีผลให้เศรษฐกิจโดยรวมปรับตัวดีขึ้น และทำ �ให้ความต้องการใช้น้ำ �มันเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ ตลาดไม่เป็นไปตามที่ได้คาดการณ์ไว้ โดยมีปัจจัยกดดันจากวิกฤต อสังหาริมทรัพย์ในจีน รวมถึงการล้มละลายของธนาคารในสหรัฐฯ ยุโรป และจีน ที่ก่อให้เกิดความกังวลว่าสถานการณ์ดังกล่าวจะ ลุกลามจนกลายเป็นวิกฤตเศรษฐกิจ นอกจากนี้ อัตราเงินเฟ้อของ สหรัฐฯ ที่อยู่ในระดับสูงส่งผลให้ธนาคารกลางสหรัฐฯ (The Federal Reserve: FED) ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ซึ่งสร้างแรงกดดัน ต่อเศรษฐกิจและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ โดยในปี 2566 มีการปรับขึ้น ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี 18% ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี 22% ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม 81% ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม 77% ไฟฟ้าและ สาธารณูปโภค 1% ไฟฟ้าและ สาธารณูปโภค 1% (หน่วย: ล้านบาท) 299,075 318,396 6% 2566 2565 171 คำำ �อธิิบายและการวิิเ ราะห์์ของฝ่่ายจััดการ แบบแสดงรายการข้อมููลประจำำ �ปี/ รายงานประจำำ �ปี 2566 (แบบ 56-1 One Report)

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=