IRPC Annual Report 2023

การเคาร การประเมินความเสี่่� ยงและ ลกระ บด้านิิ มนุษยชนอย่างรอบด้าน บริษัทฯ มุ่งมั่นในการออกแบบกระบวนการตรวจสอบที่ครอบคลุม รอบด้าน และสอดคล้องกับมาตรฐานสากลเพื่อประเมินและบริหาร จัดการความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนภายในองค์กร และได้กำ �หนด ระเบียบวิธีการทำ �งานตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. การตรวจสอบประเด็นด้านสิทธิิมนุ ชนที� เกี� วข้้อง บริษัทฯ ตรวจสอบประเด็นความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนที่ เกี่ยวข้อง โดยมีขอบเขตดังต่อไปนี้ สิทธิของแรงงาน สิทธิ ของชุมชน ห่วงโซ่อุปทาน ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และ สิทธิของลูกค้า 2. การกำ �หนดประเด็นกลุ่่� มเปราะบาง บริษัทฯ กำ �หนดนิยามกลุ่มเปราะบางว่าประกอบด้วย เด็กและ เยาวชนผู้พิการ ผู้สูงอายุ สตรี กลุ่มคนพื้นเมือง แรงงานต่างด้าว แรงงานของผู้รับจ้าง และกลุ่ม LGBTQIA+ ซึ่งอาจได้รับ ผลกระทบจากการดำ �เนินงานของบริษัทฯ และมีความเสี่ยงจะ ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน 3. การประเมินความเสี� งแ ะ กระทบด้านสิทธิิมนุ ชน บริษัทฯ ประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน ที่อาจเกิดขึ้น ภายในองค์กรหรือตลอดห่วงโซ่คุณค่า รวมถึง บริษัทร่วม และบริษัทร่วมทุน ทั้งในรูปแบบที่บริษัทมีอำ �นาจควบคุมและ ไม่มีอำ �นาจควบคุม คู่ค้าหลักประเภทที่หนึ่ง (Critical Tier 1 Suppliers) กระบวนการประเมินประกอบด้วยการวิเคราะห์ ความเสี่ยง ซึ่งแบ่งผลกระทบเป็น 4 ระดับ (สูงมาก สูง ปานกลาง และต่ำ �) ประเด็นที่ได้รับการประเมินว่ามีความเสี่ยง ระดับปานกลางถึงสูงมาก จะได้รับการพิจารณาโดยหน่วยงาน กำ �กับดูแลที่เกี่ยวข้องภายในองค์กรเพื่อพิจารณาความเสี่ยง ด้านสิทธิมนุษยชน 4. การกำ �หนดมาตรการป้องกันแ ะการปฏิิบัติตามมาตรการ บริษัทฯ ให้ความสำ �คัญในการใช้มาตรการป้องกันความเสี่ยงที่ เหมาะสมเพื่อลดความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน ดังนั้น บริษัทฯ จึงได้กำ �หนดมาตรการป้องกันความเสี่ยงให้สอดคล้องกับ ระดับความเสี่ยงในระดับต่างๆ เพื่อลดและควบคุมความเสี่ยง ให้อยู่ในระดับต่ำ �และยอมรับได้ เช่น มาตรการป้องกันความ เสี่ยงเพื่อบริหารจัดการรักษาความปลอดภัย อาชีวอนามัย และความปลอดภัยของพนักงาน และการป้องกันผลกระทบ ที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม 5. การตรวจสอบ รา งาน แ ะการส่� อสาร บริษัทฯ มอบหมายให้ผู้บริหารที่รับผิดชอบโดยตรงดำ �เนิน การตรวจสอบและทบทวนผลการดำ �เนินงานที่เกี่ยวข้องกับ มาตรการป้องกันความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน เพื่อแก้ไข ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนที่อาจเกิดขึ้น 6. การฟ้� นฟูเี ว า บริษัทฯ ออกแบบกระบวนการฟื้นฟูเยียวยาเพื่อบรรเทา ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนที่เกิดจากบริษัทฯ ประกอบ ด้วย การเยียวยาทางการเงินและโดยวิธีการอื่นๆ เพื่อชดเชย ผลกระทบที่เกิดขึ้น การประเมินความเสี่่� ยงและ ลกระ บ ด้านิิ มนุษยชน บริษัทฯ จัดทำ �การประเมินความเสี่ยงและผลกระทบด้าน สิทธิมนุษยชน สำ �หรับทุกกลุ่มธุรกิจตลอดห่วงโซ่คุณค่าของ กลุ่มบริษัทฯ ตั้งแต่ปี 2561 เป็นต้นมา นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดให้มีการปรึกษาหารือสาธารณะและจัดทำ �การประเมินด้าน สิทธิมนุษยชน สำ �หรับโครงการลงทุนใหม่ที่เกิดขึ้นนับตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา การประเมินความเสี่ยงและผลกระทบด้านสิทธิ มนุษยชน (Human Rights Risk Assessment: HRRA) จัดทำ �โดย หน่วยงานภายในที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การประเมินด้านสิทธิมนุษยชน ครอบคลุมการดำ �เนินงานของบริษัทฯ และบริษัทร่วมทุนอย่างรอบ ด้านตลอดห่วงโซ่คุณค่า การประเมินความเสี่ยงและผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน เป็น การตรวจสอบประเด็นและประเมินผลกระทบต่อสิทธิของผู้ที่ เกี่ยวข้อง และกลุ่มเปราะบาง รวมถึงประเมินความเป็นไปได้ที่จะ ส่งผลกระทบในระดับประเทศในบริเวณที่บริษัทฯ ดำ �เนินกิจการ และผลกระทบต่อพนักงาน การประเมินจัดขึ้นสำ �หรับผู้มีส่วนได้เสีย หลายฝ่าย เช่น พนักงานบริษัทฯ สังคม บริษัทย่อย พันธมิตรบริษัท ร่วมทุน และคู่ค้า (คู่ค้า ผู้รับจ้าง ลูกค้า) โดยมุ่งเน้นให้ความสำ �คัญ ต่อกลุ่มเปราะบาง ซึ่งรวมถึง สตรี เด็กและเยาวชน ชนเผ่าพื้นเมือง ผู้อพยพ แรงงานของผู้รับจ้าง คนในชุมชน คนท้องถิ่น ลูกค้า ผู้บริโภค กลุ่ม LGBTQIA+ ผู้พิการ สตรีมีครรภ์ และผู้สูงอายุ 163 การขัับเคลื่่� อนธุุรกิจเพื่่� อความยั่่� ง น แบบแสดงรา การข้้อมู ประจำ �ปี/ รา งานประจำ �ปี 2566 (แบบ 56-1 One Report)

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=