การจัดการคุณภา อากาศแ ะกลิ่่� น • การจัดการออกไซด์ องไนโตรเจน ออกไซด์ องซั เฟอร์ แ ะฝุ่น (NOx SOx TSP) บริษัทฯ ให้ความสำ �คัญกับการควบคุมมลพิษทางอากาศที่มาจาก ปล่องระบาย โดยเริ่มที่การควบคุมปัจจัยในการเผาไหม้เพื่อให้ได้ ประสิทธิภาพและลดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การเลือก ใช้เชื้อเพลิงที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมน้อย ได้แก่ เชื้อเพลิงประเภท Fuel Gas. ร่วมกับการควบคุมสภาวะขณะเผาไหม้ในเตาเพื่อให้ มลภาวะทางอากาศ ออกไซด์ของไนโตรเจน ออกไซด์ของซัลเฟอร์ และฝุ่น (NOx SOx TSP) เกิดขึ้นน้อยที่สุด นอกจากนี้ยังเลือกใช้ เตาเผาเทคโนโลยี Low NOx Burner ซึ่งส่งผลให้ค่าออกไซด์ของ ไนโตรเจน (NOx) จากปล่องระบายลดลง นอกจากเทคโนโลยีการเผาไหม้และเชื้อเพลิง ในปี 2566 บริษัทฯ ยังมีกิจกรรมซ่อมบำ �รุงใหญ่ ซึ่งมุ่งเน้นการรักษาประสิทธิภาพ การเผาไหม้ของอุปกรณ์ให้ยังคงดำ �เนินการปกติไปพร้อมกับ ลดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ในด้านของการเฝ้าระวัง บริษัทฯ มีการวางแผนร่วมกับที่ปรึกษา (Third Party) ในการเข้าตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องระบาย ซึ่งผลการตรวจวัดมีค่าผ่านเกณฑ์ควบคุมของเขตประกอบการ อุตสาหกรรมไออาร์พีซี และค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวง อุตสาหกรรม เป็นสิ่งที่ช่วยยืนยันถึงประสิทธิภาพการบริหารจัดการ มลภาวะทางอากาศออกไซด์ของไนโตรเจน ออกไซด์ของซัลเฟอร์ และฝุ่น (NOx SOx TSP) ได้เป็นอย่างดี • การจัดการสารอินทรี์ ระเห่ า (VOCs) บริษัทฯ เริ่มดำ �เนินโครงการติดตั้งระบบหอเผาไร้ควัน (Enclosed Ground Flare) รองรับการระบายก๊าซทิ้งออกจากโรงงาน ซึ่ง ระบบหอเผาไร้ควัน (Enclosed Ground Flare) เป็นระบบที่มี ประสิทธิภาพการเผาในระดับสูงที่ร้อยละ 99.5 ทำ �ให้สามารถ ลดการเกิดควันดำ � สารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) และป้องกัน ผลกระทบด้านรังสี ความร้อนเสียง แสง และกลิ่น โครงการนี้เริ่ม ดำ �เนินการตั้งแต่ปี 2565 และการดำ �เนินงานในภาพรวมยังคงเป็น ไปตามแผนซึ่งมีเป้าหมายแล้วเสร็จในปี 2568 นอกจากนี้ ยังมีการดำ �เนินการเพื่อควบคุม ป้องกันการระบายสาร อินทรีย์ระเหยง่ายในช่วงของงานซ่อมบำ �รุงผ่านแนวคิด Green Turnaround มุ่งเน้นที่การประเมินความเสี่ยงของการระบายจาก กิจกรรมต่างๆ ของงานให้ครอบคลุม เพื่อหามาตรการที่เหมาะสม มาใช้เพื่อลดการระบาย มาตรการเช่น การตรวจวัดที่อุปกรณ์ ก่อนเปิดระบบเพื่องานซ่อมบำ �รุง ตลอดจนมาตรการเฝ้าระวัง รอบรั้วโรงงานเป็นการตรวจสอบเพื่อยืนยันผลการปฏิบัติ รวมถึง ใช้วิเคราะห์หาแหล่งกำ �เนิดที่มีนัยสำ �คัญ เพื่อนำ �ไปสู่การแก้ไข ปัญหาที่ต้นเหตุอันเป็นการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน บริษัทฯ นำ �แนวทางปฏิบัติงานตามคู่มือการปฏิบัติงานที่เป็น มาตรฐาน (Code of Practice: COP) ในการป้องกันการระบาย สารอินทรีย์ระเหยง่ายจากแหล่งกำ �เนิด ได้แก่ ถังเก็บ หอเผาทิ้ง และจากงานซ่อมบำ �รุง ไปประยุกต์ใช้ในการดำ �เนินงานจริง เพื่อ มุ่งสู่การแก้ไขปัญหาสารอินทรีย์ระเหยง่ายอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการนำ� � น้ำ � จัดเป็นทรัพยากรที่สำ �คัญยิ่ง ไม่เฉพาะกับแค่บริษัทฯ แต่สำ �หรับ ภาคส่วนอื่นๆ ในสังคมเช่นกัน บริษัทฯ จึงเข้าไปมีส่วนร่วมในการ บริหารจัดการน้ำ �ร่วมกับหน่วยงานราชการและผู้ใช้น้ำ �อื่นๆ ทั้ง ภายในและภายนอกกลุ่ม เพื่อบรรลุเป้าหมายอย่างเป็นรูปธรรม บริษัทฯ ได้จัดตั้งเป้าหมายการรักษาสมดุลน้ำ �ดิบในธรรมชาติ ระหว่างบริษัทฯ และชุมชน ให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน และสังคมโดยรวม การบริหารจัดการตั้งแต่ต้นน้ำ �มีความสำ �คัญอย่างยิ่ง เพื่อให้การ ดำ �เนินงานของบริษัทฯ ไม่รบกวนวิถีชีวิตในการใช้น้ำ �อุปโภค บริโภคของเกษตรกร ภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ และประชาชน ทั่วไป มุ่งเน้นการจัดการทรัพยากรน้ำ �อย่างยั่งยืน มีการจัดตั้ง คณะกรรมการผู้ใช้น้ำ � เพื่อบรรลุเป้าหมายการรักษาสมดุลน้ำ �ดิบ ในธรรมชาติระหว่างบริษัทฯ และชุมชน การที่บริษัทฯ สามารถ ดำ �เนินงานได้อย่างต่อเนื่อง ราบรื่นโดยปราศจากการติดขัด เนื่องด้วยการขาดแคลนน้ำ � นอกจากนี้การที่คณะกรรมการเข้าไป มีส่วนร่วมทำ �ให้สามารถกำ �หนดเป้าหมายการจัดการน้ำ �ของบริษัทฯ และการตัดสินใจในการดำ �เนินการโดยบริษัทฯ ยังมีการช่วยเหลือ ปันน้ำ �ให้ชุมชนในฤดูแล้งอีกด้วย ในแง่ของการประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับน้ำ �นั้น บริษัทฯ ได้ ดำ �เนินการบริหารความเสี่ยงด้านน้ำ � ซึ่งครอบคลุมความเสี่ยง ทางกายภาพ เช่น ปริมาณน้ำ � คุณภาพน้ำ � และความเสี่ยงที่ เกี่ยวข้องกับกฎระเบียบและข้อกำ �หนดจากการประเมินความเสี่ยง จากข้อมูลของ Aqueduct Water Tool ของสถาบันทรัพยากรโลก (WRI) พบว่า บริษัทฯ อยู่ในระดับ Low Baseline Water Stress 1 ดังนั้นผลการประเมินถูกนำ �ไปใช้เพื่อพัฒนาแผนบริหารจัดการน้ำ � ตลอดจนศึกษาและคาดการณ์การใช้น้ำ �ในการดำ �เนินธุรกิจในอนาคต 148 การขัับเคลื่่� อนธุุรกิจเพื่่� อความยั่่� ง น บริษััท ไออาร์ี ซีี จำ �กัด (มหาชน)
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=