การประเมินประเด็น ำ �คัญ อการดำ �เนินธุุรกิ อย่างยั� งยืนของไออาร์พีีซีี ไออาร์พีซีปฏิบัติตามมาตรฐาน GRI (Global Reporting Initiative Standards) ในการประเมินประเด็นสำ �คัญต่อการดำ �เนินธุรกิจอย่าง ยั่งยืนของธุรกิจและผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ จัดให้มีการประเมินขึ้นทุกปี โดยพิจารณาประเด็นต่างๆ ครอบคลุมรอบด้าน เช่น ความคาดหวัง และข้อกังวลของผู้มีส่วนได้เสีย แนวโน้มอุตสาหกรรม มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง กฎระเบียบต่างๆ และแนวทางปฏิบัติจากองค์กรที่ได้รับ การยอมรับทั้งระดับประเทศและระดับสากล ขั้นตอนการประเมินประจำ �ปีประกอบด้วยการทบทวนความเปลี่ยนแปลงของผลกระทบ เนื่องจากบริบททั้งภายในและภายนอก รวมถึงผลการวิเคราะห์เพื่อใช้ในการกำ �หนด พัฒนา และทบทวนเป้าหมายและกลยุทธ์ด้าน ความยั่งยืน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ทำ �ความเข้้าใจบริบท ององค์กร บริษัทฯ วิเคราะห์บริบทด้านธุรกิจอย่างละเอียด โดยพิจารณาปัจจัย ภายในเช่น เป้าหมาย ค่านิยม กลยุทธ์ โครงสร้างองค์กร กิจกรรม ในการดำ �เนินงาน ผู้มีส่วนได้เสียตลอดห่วงโซ่คุณค่า รวมถึง ปัจจัยภายนอก เช่น แนวโน้มอุตสาหกรรม ประเด็นด้านกฎหมาย และกฎระเบียบต่างๆ และมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ บริษัทฯ พิจารณาความคาดหวังและข้อกังวลของผู้มีส่วนได้เสีย ซึ่งหมายรวมถึง ผู้ถือหุ้น หรือนักลงทุน พนักงาน ลูกค้า/ผู้บริโภค คู่ค้า ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ผ่านการเก็บข้อมูลจากการ ทำ �แบบสอบถาม ทุกปัจจัยถูกนำ �มาวิเคราะห์เพื่อระบุและเรียง ลำ �ดับประเด็นด้านความยั่งยืนที่มีนัยสำ �คัญและมีความเกี่ยวข้อง กับบริษัทฯ มากที่สุด 1. การระบุประเด็นแ ะ กระทบที� เกิดขึ้� นจริง แ ะอาจเกิดขึ้� น บริษัทฯ ระบุผลกระทบที่เกิดขึ้นจริงและอาจเกิดขึ้นจากประเด็นที่ มีนัยสำ �คัญในเชิงเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ผู้มีส่วนได้เสีย และสิทธิ มนุษยชน ซึ่งมีทั้งผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบ ทั้งในระยะสั้น และในระยะยาวที่อาจเกิดขึ้นกับกิจกรรมการดำ �เนินงานทั้งหมด ของบริษัทฯ ตลอดห่วงโซ่คุณค่า 2. ประเมินระดับความมีนั ำ �คัญ อง กระทบ บริษัทฯ ยึดแนวทางปฏิบัติตามหลักการประเมินผลกระทบ ภายนอกต่อสังคมหรือสิ่งแวดล้อมและผลกระทบภายในที่มีต่อ มูลค่าองค์กร (Double Materiality) ดังนั้น วิธีการประเมินของ บริษัทฯ จึงมีการประเมินผลกระทบเชิงเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ผู้มี ส่วนได้เสีย และสิทธิมนุษยชน รวมถึงการประเมินความเสี่ยงและ โอกาสที่เกี่ยวข้อง จากนั้นจึงทำ �การเรียงลำ �ดับความสำ �คัญของ แต่ละประเด็น โดยพิจารณาจากการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนระดับความร้ายแรง (ขนาด ขอบเขต หรือไม่สามารถ ฟื้นฟูเยียวยาได้) และความเป็นไปได้ในการเกิดผลกระทบเหล่านี้ 3. การจัด ำ �ดับ กระทบที� มีนั ำ �คัญ เมื่อทำ �การวิเคราะห์ระดับนัยสำ �คัญของแต่ละประเด็นแล้ว บริษัทฯ จึงทำ �การจัดลำ �ดับและเลือกประเด็นความยั่งยืนที่มี นัยสำ �คัญ โดยอ้างอิงจากผลลัพธ์ดังกล่าว ประเด็นเหล่านี้จะ ถูกตรวจสอบโดยการทดสอบจากผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งประกอบด้วย การทบทวนประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม การกำ �กับดูแล (ESG) และประเด็นเชิงเศรษฐกิจ โดยหน่วยงานที่เป็นผู้นำ �ทาง ความคิด เช่น Global Reporting Initiative (GRI), Dow Jones Sustainability Indices (DJSI), World Economic Forum, World Business Council for Sustainable Development (WBCSD) UN Global Compact, ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และอื่นๆ เพื่อยืนยันความครบถ้วนของ ผลการประเมิน จากนั้นประเด็นต่างๆ ดังกล่าวจะถูก รายงานในที่ประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainability Development Committee: SDC) เพื่อ พิจารณาอนุมัติ แล้วจึงส่งเรื่องเข้าที่ประชุมระดับคณะกรรมการ บริษัท เพื่อให้คณะกรรมการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและความยั่งยืน พิจารณารับทราบต่อไป ประเมินประเด็นสำ �คัญต่อ การดำ �เนินธุุรกิจอ่ างยั่่� งยืืน องไออาร์ี ซี จากการจัดทำ �ประเมินประเด็นที่มีนัยสำ �คัญประจำ �ปี 2566 การประเมินระดับของประเด็นผลกระทบด้านความยั่งยืนของบริษัท มีรายละเอียดดังปรากฏในตารางต่อไปนี้ การจัดทำ �การประเมิน ทำ �ให้บริษัทฯ ได้ทราบถึงภาพรวมและรายละเอียดที่สำ �คัญของ ประเด็นเหล่านี้ที่มีต่อผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ จัดประเภทประเด็นที่มี นัยสำ �คัญโดยแบ่งเป็น3 กลุ่มตามระดับความร้ายแรงของผลกระทบ กล่าวคือ (1) ประเด็นที่มีนัยสำ �คัญต่อการสร้างคุณค่าที่ยั่งยืน (2) ประเด็นที่มีนัยสำ �คัญต่อการสร้างความยั่งยืน และ (3) ประเด็นที่ มีนัยสำ �คัญต่อพื้นฐานของธุรกิจ ซึ่งเป็นแนวทางที่ช่วยให้บริษัทฯ สามารถตัดสินใจและดำ �เนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น 112 การขัับเคลื่่� อนธุุรกิจเพื่่� อความยั่่� ง น บริษััท ไออาร์ี ซีี จำ �กัด (มหาชน)
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=